Page 438 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 438
14-32 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคม3อ2าเซียน
14.5.3 มาตรการรองรบั ผลกระทบของภาครฐั
เป้าหมายสาคญั ของ AEC ไมใ่ ช่การแข่งขนั แต่เปน็ การสง่ เสรมิ ความร่วมมือซ่งึ กัน
และกัน ทั้งในด้านการเพ่ิมขีดความสามารถการแข่งขันในภูมิภาค การพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน และ
การบรู ณาการเข้ากบั เศรษฐกจิ โลกซ่งึ จะช่วยเพ่ิมอานาจในการต่อรองของอาเซียน และจะชว่ ยสง่ เสริม
ให้ท้ังภูมิภาคมีการเติบโตมากข้ึน ซึ่งจะเกิดผลกระทบตามมาแน่นอน ดังน้ัน ภาครัฐควรจัดเตรียม
มาตรการเพ่ือรองรบั ผลกระทบเหลา่ นัน้ ดังตอ่ ไปน้ี
1) การเจรจาเพ่ือให้มีความยืดหยุ่น หากไทยเห็นว่าอุตสาหกรรมประเภทใดของ
ไทยมีความอ่อนไหวสูง และไม่สามารถท่ีจะปฏิบัติตามพันธกรณีที่กาหนดใน Blueprint ได้ ไทยก็
สามารถท่ีจะนาไปเจรจาขอความยืดหยุน่ ล่วงหนา้ เอาไว้ได้
2) การกาหนดมาตรการเพื่อปกป้องด้านเศรษฐกิจ (Safeguard Mechanism) ใน
กรณีที่การดาเนินการเปิดเสรี ภายใต้ AEC Blueprint ส่งผลให้มีการนาเข้าเพ่ิมข้ึนจนกระทบต่อ
อุตสาหกรรมภายในก็สามารถนาพระราชบัญญัติมาตรการปกป้องจากการนาเข้าสินค้าที่เพ่ิมขึ้น
(Safeguard (SG) Measure Act) พ.ศ. 2550 มาบังคับใชเ้ พอื่ ระงบั การนาเข้าช่วั คราวได้
3) จัดต้ังกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลผกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
(Adjustment Fund) หากมีภาคการผลิตหรือบริการใดท่ีได้รับผลกระทบอย่างหลีกเล่ียงหรือป้องกัน
ล่วงหน้าไม่ได้ ในทางปฏิบัติก็ยังมีหนทางช่วยเหลือโดยอาศัยกองทุนเพ่ือปรับตัวภาคเกษตร โดย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกองทุนเพ่ือการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการโดยกระทรวง
พาณิชย์
4) สร้างกลไกลการประสานระหว่างหน่วยงานภายในท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินการ
ตามแผนงานไปสู่ AEC โดยคณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กนศ.) ได้จัดต้ัง
คณะอนุกรรมการดาเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็น AEC ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงาน
ต่างๆ จานสวน 47 หน่วยงาน เพ่ือเป็นกลไกในการติดตามการดาเนินงานตามแผนงานและพิจารณา
แนวทางรองรับผลกระทบท่เี หมาะสม