Page 490 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 490

15-20	    หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
                                         20

             สถานะของอตุ สาหกรรมไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก

อตุ สาหกรรม                          อนั ดบั ในตลาด                         อนั ดับใน  คแู่ ข่งสาคญั
                                       อาเซยี น                             ตลาดโลก

ยาง และผลิตภัณฑ์                     1 1 ญปี่ ุน่ อินโดฯจนี สิงคโปร์

อาหาร 1 3 สหรฐั ฯอาเจนตนิ าบราซลิ อินเดยี

นา้ ตาล 1 3 บราซิลมาเลเซยี อนิ เดยี ออสเตรเลยี

ยานยนตแ์ ละส่วนประกอบ                2                                      18         ญปี่ นุ่ จนี สิงคโปร์เกาหลี

พลาสตกิ และเม็ดพลาสตกิ               5                                      14 สงิ คโปรญ์ ีป่ ุ่นเกาหลมี าเลเซยี

สงิ่ ทอและเครอื่ งนงุ่ ห่ม           6 20 จนี ไตห้ วนั เกาหลฮี ่องกงญี่ปนุ่

เคมีภณั ฑ์                           8 21 สิงคโปรจ์ นี ญปี่ นุ่ มาเลเซียสหรัฐฯ

เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์  9                                      13 สิงคโปรจ์ ีนสหรัฐฯญีป่ ุ่นมาเลเซยี

เหล็กเหล็กกล้า และผลติ ภณั ฑ์        9                                      26 ญ่ีปุ่นจีนเกาหลไี ต้หวันสงิ คโปร์

อญั มณี และเครื่องประดบั             16                                     11 อนิ เดียฮอ่ งกงเบลเยียมสหรฐั ฯอสิ ราเอล

ท่ีมา: http://www.scribd.com/doc/98606236/AEC-Final-Report.

      การใชป้ ระโยชนจ์ ากการเปิดเสรีทางการค้าและเสริมสร้างขีดความสามารถของภาคอุตสาหกรรมของไทย

ควรมุ่งเน้นการหาเครือข่ายการผลิต รวมท้ังพันธมิตรทางธรุ กิจในภูมิภาคเพื่อหาตลาดใหม่ โดยเฉพาะประเทศ

เพื่อนบ้านและประเทศใกล้เคียง อย่างเช่นกลุ่มประเทศ CLMV ซ่ึงมีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์

และเปน็ แหลง่ แรงงานที่ค่าจ้างไมส่ งู มากนักในสาขาท่ีไทยมีศกั ยภาพ เชน่ สง่ิ ทอและเครอ่ื งน่งุ ห่ม ยานยนต์และ

ช้ินส่วน สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น นอกจากน้ี ผู้ประกอบการควรใหค้ วามสาคัญมากข้ึนในด้านคุณภาพของ

สินค้าแทนการแข่งขันด้านราคา โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity & Innovation) ผลิต

สนิ ค้าให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของผ้บู รโิ ภคและสังคมที่เปลีย่ นแปลงไป
      ภาคการบริการ
      “ความหลากหลายของแหล่งท่องเที่ยวและความเป็นมิตรของคนไทยเป็นจุดแข็งท่ีจะเป็นโอกาส

ในการดึงดูนักท่องเที่ยวเข้าสู่ประเทศ การเช่ือมโยงแหล่งท่องเที่ยวอารยธรรมกับประเทศเพ่ือนบ้าน เพื่อ
ขยายเส้นทางการท่องเที่ยว รวมท้งั การขยายบริการทางการแพทย์ ศูนยก์ ลางการศึกษาเพื่อรองรับการเข้า
มาใช้บริการของประชากรชาวอาเซยี น”

      สาขาบริการเป็นองค์ประกอบสาคัญในเศรษฐกิจของอาเซียน คิดเป็นสัดส่วนระหว่างร้อยละ 40-70

ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติของการค้าบริการ และคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5 ของการค้าบริการของโลก

นอกจากน้ี การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในสาขาบริการยังมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 50 ของการลงทุน

โดยตรงจากต่างประเทศในอาเซียน ประเทศไทยถือเป็นประเทศท่ีมีศักยภาพท้ังในด้านภูมิศาสตร์ โครงสร้าง
   485   486   487   488   489   490   491   492   493   494   495