Page 64 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 64
5-54 วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและสง่ิ แวดล้อมเพือ่ ชีวติ
ตารางท่ี 5.1 (ต่อ)
สัญลักษณ์ ความหมาย
สารกัมมันตรังสี
วัตถุท่ีสามารถแผร่ ังสีทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ รา่ งกาย เชน่ โคบอลต์ เรเดียม
พลูโตเนยี ม ยูเรเนยี ม
สารกัดกร่อน
สามารถกัดกร่อนผิวหนังและเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น
กรดเกลอื กรดกำ� มะถนั โซเดยี มไฮดรอกไซด์ แคลเซยี มไฮเปอรค์ ลอไรด์
สารอันตรายเบ็ดเตล็ด
สารและส่ิงของท่ีในขณะขนส่งมีความเป็นอันตรายและไม่จัดอยู่ใน
ประเภท 1 ถงึ 8 หรอื สารทม่ี กี ารควบคมุ อณุ หภมู ใิ นขณะขนสง่ มอี ณุ หภมู ิ
ไม่ตํ่ากว่า 100 องศาเซลเซียสในสภาพของเหลว หรือมีอุณหภูมิไม่ต่ํา
กว่า 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็ง เช่น ยางมะตอยเหลว
กำ� มะถนั เหลว ขีเ้ ถ้าจากเตาหลอมโลหะ
2. การแบ่งประเภทของสารอันตรายในระบบ GHS
GHS คือการจ�ำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีตามระบบสากล ย่อมาจาก Globally
Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals (UN-OHS Version 2005)
สำ� นกั ควบคมุ วตั ถอุ นั ตราย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (พ.ศ. 2535) ไดน้ ำ� ระบบการจำ� แนกประเภท
และการติดฉลากสารอันตราย GHS มาประยุกตใ์ ช้ในการควบคุมวตั ถุอันตรายทางอตุ สาหกรรม ภายใต้
พระราชบัญญตั วิ ัตถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้