Page 62 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 62

6-52 วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื ชวี ิต
       ดาวเคราะห์นอ้ ยประเภทที่ 2 เป็นดาวเคราะห์นอ้ ยประเภท M (Metal) พวกนี้สะทอ้ นแสงไดด้ ี

มาก ไดแ้ ก่ ดาวเคราะหน์ อ้ ยไซเก (Phyche) ซงึ่ มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 265 กโิ ลเมตร นบั วา่ เปน็ ดาวเคราะห-์
นอ้ ยที่มีโลหะเพื่อการอุตสาหกรรมอย่างมหาศาล

       ดาวเคราะห์น้อยอกี ประเภทหนึ่งมีพน้ื ผวิ เป็นหนิ บะซอลท์ (Basalt) เหมือนพืน้ ผวิ ดวงจนั ทรห์ รือ
ดาวองั คารบริเวณท่ีเป็นพ้นื ราบอนั เกดิ จากลาวาของภเู ขาไฟ ไดแ้ ก่ ดาวเคราะหน์ อ้ ยเวสตา (Vesta)

	(A)	  (B)

             ภาพที่ 6.36 ตัวอย่างดาวเคราะห์น้อย (A) ดาวเคราะห์น้อยแกสปรา (Gaspra)
	 ถ่ายโดยยานอวกาศกาลเิ ลโอ (Galileo) ซึ่งค้นพบว่าแกสปรา
	 หมุนรอบตัวเองรอบละ 7 ช่ัวโมง (B)ดาวเคราะห์น้อย ไอดา (Ida)
	 และบริวารชื่อ แดคทีล (Dactyl)

3. 	 ดาวหาง

       แหล่งท่ีอยู่ของดาวหางรอบนอกของระบบสรุ ยิ ะเรียกว่า ดงดาวหางของออรต์ ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้
แถบดาวหางท่ีอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากกว่าน้ีเรียกว่า แถบคอยเปอร์ (Kuiper belt)) ซึ่งอยู่เลยวงโคจร
ดาวเนปจนู ออกไปเลก็ นอ้ ย เปน็ แหลง่ กำ� เนดิ ดาวหางคาบสั้น

       ดาวหางเม่ืออยู่ไกลจากดวงอาทิตย์จะไม่มีหางและหัว แต่จะมีเฉพาะใจกลางหัว ซ่ึงเรียกอีกชื่อ
หน่ึงว่า นิวเคลียส คร้ันเมื่อเข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์จึงเกิดหัวและหางซึ่งเป็นก๊าซและฝุ่น ที่ผิวนอกของ
นวิ เคลยี สระเหดิ กลายเปน็ กา๊ ซ หางและหวั ของดาวหางสะทอ้ นแสงอาทติ ยท์ ำ� ใหม้ องเหน็ ดาวหางได้ ใจกลาง
หัวดาวหางเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ดาวหางฮัลเลย์ (Halley) มีใจกลางหัวเหมือน
หวั มนั ฝรั่ง ยาวประมาณ 15 กโิ ลเมตร กว้าง 8 กิโลเมตร นับวา่ เป็นดาวหางดวงแรกที่มียานอวกาศผา่ น
เข้าไปในหัวเพือ่ ถ่ายภาพใจกลางหัว เมอ่ื พ.ศ. 2529-2530
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67