Page 44 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 44

8-34 ความรู้เบ้ืองต้นเกีย่ วกบั สอ่ื มวลชน
Communications Commission: FCC, 2019) ส่วนประเทศในเอเชียที่เริ่มด�ำเนินการเปล่ียนระบบ
โทรทัศน์จากแอนะล็อกเป็นดิจิทัลไปบางส่วนแล้ว คือประเทศญี่ปุ่นซ่ึงก�ำหนดใช้มาตรฐานไอเอสดีบี-ที
(Integrated Services Digital Broadcasting–Terrestrial: ISDB-T) ซึ่งต่อมาคณะกรรมการ
โทรคมนาคมแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ก็ได้ออกประกาศว่าจะใช้มาตรฐานเดียวกับประเทศญ่ีปุ่นและ
ได้รับการสนับสนุนจากประเทศญ่ีปุ่นในการเปล่ียนผ่านไปสู่ระบบดิจิทัล ซึ่งต้ังเป้าหมายว่าจะยุติการออก
อากาศในระบบแอนะลอ็ กใน พ.ศ. 2566 (Endo, 2018)

       ส�ำหรับประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเซียนรวมทั้งประเทศไทยได้มีการท�ำข้อตกลงในการประชุมการ
ออกอากาศในระบบดิจิทัลของประเทศกลุ่มอาเซียน คร้ังท่ี 6 (The 6th ASEAN Digital Broadcast
Meeting) วา่ จะใช้มาตรฐาน DVB-T (Digital Video Broadcasting-Terrestrial) สำ� หรับโทรทัศน์
ระบบดิจิทัลที่จะมาทดแทนระบบแอนะล็อกอย่างสมบูรณ์ใน พ.ศ. 2558 รวมท้ังการก�ำหนดคุณลักษณะ
ของกล่องแปลงสัญญาณ (set top box) และการก่อต้ังศูนย์ฝึกอบรมเพื่อการผลิตรายการโทรทัศน์ท่ีมี
ความคมชดั สงู แกบ่ คุ ลากรในภมู ิภาคอาเซียน (ASEAN HDTV Centre) ดว้ ย (Malaysia’s Ministry
of Information, June 19, 2008

       มาตรฐานโทรทัศน์ระบบดิจิทัลที่ประเทศต่างๆ เลือกใช้นั้นมีหลายระบบด้วยกัน กลุ่มประเทศใน
อเมรกิ าเหนอื นยิ มใชม้ าตรฐาน ATSC กลมุ่ ประเทศในอเมรกิ าใตส้ ว่ นมากใชม้ าตรฐาน ISDB-T รวมทั้ง
ประเทศญป่ี นุ่ และฟลิ ปิ ปนิ ส์ ประเทศจนี ใชม้ าตรฐาน DMB-T/H และมบี างประเทศใชห้ ลายมาตรฐานดว้ ย
กัน กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนมากใช้มาตรฐาน DVB-T รวมท้ัง
ประเทศไทย ซงึ่ คณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทศั น์ และกจิ การโทรคมนาคมแหง่ ชาติ (กสทช.)
ได้กำ� หนดการหยุดออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกใน พ.ศ. 2561

โทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย

       การประกอบกจิ การโทรทศั นใ์ นระบบภาคพน้ื ดนิ ของประเทศไทยแตเ่ ดมิ ไดถ้ กู สง่ ผา่ นดว้ ยสญั ญาณ
ระบบแอนะลอ็ ก (analogue signal) ซง่ึ มผี ใู้ ห้บรกิ ารหลกั จ�ำนวน 6 ราย ได้แก่ สถานีโทรทศั น์ไทยทวี ีสี
ชอ่ ง 3 สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นก์ องทพั บกชอ่ ง 5 สถานโี ทรทศั นส์ กี องทพั บกชอ่ ง 7 สถานโี ทรทศั นโ์ มเดริ น์ ไนน์
ช่อง 9 สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนแ์ ห่งประเทศไทย (กรมประชาสัมพนั ธ์) ช่อง 11 และสถานโี ทรทัศน์สาธารณะ
ไทยพีบีเอส ซึ่งสถานีโทรทศั น์ชอ่ ง 11 เปน็ ผใู้ ห้บรกิ ารภาครัฐภายใต้กรมประชาสมั พันธ์ สว่ นชอ่ ง 3, 5, 7,
และ 9 ดำ� เนินการภายใตร้ ะบบสมั ปทานจากหน่วยงานของรัฐเชน่ กัน โครงสร้างการดำ� เนนิ การของสถานี
โทรทศั นร์ ะบบแอนะลอ็ กทมี่ มี าแตเ่ ดมิ เปน็ การใหบ้ รกิ ารทก่ี จิ กรรมทกุ ขน้ั ตอนดำ� เนนิ การโดยสถานโี ทรทศั น์
กลา่ วคอื สถานโี ทรทศั นเ์ ปน็ ผกู้ ำ� หนดตง้ั แตผ่ งั รายการไปถงึ พนื้ ทอี่ อกอากาศ ดงั นน้ั ผผู้ ลติ รายการจงึ จำ� เปน็
ต้องอาศยั สถานโี ทรทศั นเ์ พอ่ื เปน็ ชอ่ งทางเผยแพร่รายการสูป่ ระชาชน

       แผนแมบ่ ทกิจการกระจายเสยี งและกจิ การโทรทัศน์ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2555-2559) ก�ำหนดให้การ
เปลี่ยนผ่านไปสู่การรับส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล เป็น 1 ใน 7
ยทุ ธศาสตร์หลัก โดยมีตวั ชี้วัดด้านกจิ การโทรทศั นท์ ี่ส�ำคญั คือ ให้มีนโยบายและแผนการเปลย่ี นระบบการ
รบั สง่ สญั ญาณวทิ ยโุ ทรทศั นเ์ ปน็ ระบบดจิ ทิ ลั ภายใน 1 ปี ซง่ึ นบั เปน็ ภารกจิ เรง่ ดว่ นและเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทสี่ ำ� คญั
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49