Page 42 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 42
8-32 ความรเู้ บ้อื งต้นเก่ยี วกบั สือ่ มวลชน
ความละเอียดของภาพ (Resolution) มาตรฐานความละเอยี ดตำ�่ สดุ ของโทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั แบบ
ความละเอยี ดมาตรฐาน จะเทยี บเทา่ ความละเอยี ดของโทรทศั นร์ ะบบแอนะลอ็ กและละเอยี ดไดถ้ งึ 704 × 480
พกิ เซล สว่ นมาตรฐานความละเอยี ดสงู สดุ ของโทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั แบบความละเอยี ดสงู คอื 1,920 × 1,080
พิกเซล โดยสามารถแสดงภาพท่มี ีความละเอยี ดมากกวา่ ระบบแอนะล็อกไดถ้ ึง 10 เท่า
อตั ราการแสดงภาพเคลือ่ นไหว (Frame rate) เปน็ การแสดงจำ� นวนภาพต่อ 1 วนิ าที (Frame
Per Second) ย่งิ มจี �ำนวนเฟรมต่อวนิ าทีมากเท่าไหร่ ก็จะท�ำให้การแสดงผลภาพมคี วามต่อเนื่องลื่นไหล
และไมก่ ระตกุ ถา้ หากมคี า่ FPS 60 ขึน้ ไป ภาพจะดตู ่อเนอ่ื งจนสายตาของคนปกติแยกไมอ่ อก แต่ในทาง
กลบั กนั หากมคี า่ ตำ่� กวา่ FPS 30 กจ็ ะทำ� ใหก้ ารแสดงผลดหู นว่ งหรอื กระตกุ โทรทศั นท์ ใี่ ชร้ ะบบ PAL จะมี
คา่ อยทู่ ี่ 25 FPS สว่ นภาพยนตร์ท่ีมีระดับความคมชดั ระดบั HD จะใช้อัตราการแสดงภาพเคลอ่ื นไหว 60
FPS ขึน้ ไปจึงจะถอื ว่าล่ืน แตจ่ อทีใ่ ชแ้ สดงผลก็ตอ้ งรองรบั ความละเอียดในการแสดงผลภาพตอ่ วนิ าทดี ้วย
อตั ราการแสดงภาพเคลื่อนไหวของโทรทัศนร์ ะบบดจิ ิทลั มกั จะตามดว้ ยอกั ษร “i” หรือ “p” ซ่งึ
หมายถงึ วธิ กี ารสแกนภาพแบบสลบั เสน้ (interlaced) หรอื เรยี งเสน้ (progressive) โทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั
จะมคี า่ อตั ราการแสดงภาพเคลอื่ นไหวจาก 24p (24 ภาพตอ่ วนิ าทแี บบเรยี งเสน้ ) ไปจนถงึ 60p (60 ภาพ
ตอ่ วนิ าทีแบบสลับเส้น)
มาตรฐาน ATSC ส�ำหรับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล มักใช้กันมากในประเทศสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
และแคนาดา ขณะทบ่ี างประเทศท่เี คยใช้ระบบแอนะล็อก NTSC มาก่อน เชน่ ประเทศญี่ปุ่นไม่ใชร้ ะบบ
ATSC ในระหว่างการเปล่ียนผ่าน เพราะมีระบบของตนท่ีเรียกว่า ไอเอสดีบี (ISDB: Integrated
Services Digital Broadcasting) ในวันที่ 11 มิถนุ ายน 2553 คณะกรรมการโทรคมนาคมแห่งชาตขิ อง
ประเทศฟิลิปปินส์ก็ได้ออกประกาศว่าจะใช้มาตรฐานเดียวกับประเทศญ่ีปุ่น ส่วนประเทศอื่นๆ ในกลุ่ม
อาเซียนรวมทัง้ ประเทศไทย ไดม้ กี ารทำ� ข้อตกลงในการประชุมการออกอากาศในระบบดิจิทลั ของประเทศ
กลุ่มอาเซียน คร้ังที่ 6 (The 6th ASEAN Digital Broadcast Meeting) ว่าจะใช้มาตรฐานดีวีบีที
(DVB-T: Digital Video Broadcasting–Terrestrial) สำ� หรบั โทรทศั นร์ ะบบดจิ ทิ ลั ทจ่ี ะมาทดแทนระบบ
แอนะล็อกอย่างสมบรู ณ์ รวมทงั้ การก�ำหนดคณุ ลกั ษณะของกล่องแปลงสัญญาณ (set top box) และการ
กอ่ ต้ังศูนย์ฝึกอบรมเพื่อการผลิตรายการโทรทศั นท์ มี่ ีความคมชดั สงู แกบ่ ุคลากรในภูมิภาคอาเซยี นดว้ ย
สรุปได้ว่ามาตรฐานโทรทัศน์ระบบดิจิทัลที่ประเทศต่างๆ เลือกใช้จะมีหลายระบบด้วยกัน กลุ่ม
ประเทศในอเมรกิ าเหนอื นยิ มใชม้ าตรฐาน ATSC กลมุ่ ประเทศในอเมรกิ าใตส้ ว่ นมากใชม้ าตรฐาน ISDB-T
รวมทั้งประเทศญี่ปุ่นและฟิลิปปินส์ กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนมากใช้
มาตรฐาน DVB-T ประเทศจนี ใชม้ าตรฐาน DMB-T/H และมบี างประเทศใช้หลายมาตรฐานดว้ ยกัน
ความแตกต่างระหว่าง DTV, HDTV และ Smart TV
หลายครงั้ ทม่ี กี ารใชค้ ำ� เรยี กทวี ดี จิ ทิ ลั ในภาษาองั กฤษ (Digital Television หรอื DTV) สลบั กบั
คำ� วา่ ทวี คี วามละเอยี ดสงู (High Definition Television หรอื HDTV) นกั ศกึ ษาตอ้ งทำ� ความเขา้ ใจความ
แตกตา่ งระหว่างคำ� ทั้งสอง เพราะ DTV หมายถึงการสง่ ภาพวดิ ีโอและเสียงเปน็ ระบบดจิ ทิ ัลหรือทีวีระบบ
ดิจิทลั ธรรมดา แต่ HDTV หมายถึงระบบโทรทศั นท์ ม่ี ีความละเอียดสูงกวา่ DTV