Page 77 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 77

สอ่ื ใหม่ 8-67
       จากการทเ่ี ทคโนโลยเี ขา้ มามบี ทบาทในการใชช้ วี ติ ประจำ� วนั ของเรามากขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ โทรศพั ท์
มอื ถือ สมารต์ โฟน แทบ็ เลต็ ยานพาหนะ หรอื แม้กระทั่งเครื่องใช้ไฟฟา้ ในบ้านของเราเอง ที่มกี ารพฒั นา
ใหฉ้ ลาดและอ�ำนวยความสะดวกตอ่ ผใู้ ชม้ ากขึน้ แนวคิด IoT จึงเปน็ ส่วนหนงึ่ ทีจ่ ะชว่ ยใหอ้ ปุ กรณร์ อบตัว
ของเราน้ัน สามารถท�ำงานเช่ือมต่อและควบคุมได้อย่างอัจฉริยะ เสมือนว่าอุปกรณ์สามารถเชื่อมต่อและ
พูดคุยกันเอง ท�ำให้ชีวิตประจ�ำวันของคนสะดวกสบายและปลอดภัยมากขึ้น เทคโนโลยีการเชื่อมต่อของ
สรรพส่ิง (IoT) เปน็ สงิ่ ทเ่ี กิดขน้ึ แลว้ ในปจั จุบันและจะเข้ามามบี ทบาทในชีวิตมนษุ ยม์ ากขึน้ ประชาชนคน
ไทยจงึ จำ� เป็นต้องทำ� ความรจู้ ักกบั เทคโนโลยีการสอ่ื สารสมัยใหม่ เชน่ IoT เพ่ือนำ� ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
สงู สุดในการใชช้ วี ิตและการปฏบิ ัตงิ านท่เี ก่ียวข้องต่อไป
       นอกจากเทคโนโลยี 5G และ IOT ที่กล่าวถึงข้างต้นแล้ว สื่อใหม่ด้านโทรคมนาคมยังเกิดขึ้น
เป็นจ�ำนวนมาก เม่ือเปรียบเทียบกับยุคท่ีมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตระยะแรกประมาณ 30 ปีก่อน เช่น
ในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ เดิมทนี ้นั ผใู้ ชง้ านต้องเตรยี มหรอื ติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการทำ� งาน
ไวท้ ส่ี ำ� นกั งานดว้ ยตวั เอง แตเ่ ทคโนโลยคี ลาวด์ (Cloud Computing) เปน็ เทคโนโลยที เี่ ขา้ มาชว่ ยเปลยี่ น
การใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ เทคโนโลยีคลาวด์ (Cloud Computing) จึงเป็นเสมือน
คอมพวิ เตอรเ์ ครอื่ งหนงึ่ ทเ่ี ราใชง้ านกนั อยคู่ อื มที ง้ั ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการประมวลผลและเกบ็ ขอ้ มลู
แต่ Cloud Computing เปน็ ระบบคอมพวิ เตอร์ทใี่ หญ่มากๆ รองรับการใช้งาน การประมวลผล ตลอดจน
การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งมหาศาล โดยทผ่ี ใู้ ชง้ านไมต่ อ้ งตดิ ตงั้ ระบบทง้ั ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วรไ์ วท้ ส่ี ำ� นกั งาน
ให้ยุ่งยาก แต่สามารถใช้งานในส่ิงที่ต้องการได้ด้วยการเช่ือมต่อกับระบบ Cloud Computing ผ่าน
อินเทอร์เน็ต ซึ่งสามารถเช่ือมต่อและใช้งานระบบผ่านอินเทอร์เน็ตได้ทุกสถานที่โดยไม่ถูกจ�ำกัดอยู่ใน
สถานทห่ี นงึ่ สถานทใ่ี ดอีกต่อไป (CS LOXINFO, 2017)
       อกี หนงึ่ เทคโนโลยที กี่ ำ� ลงั มาแรงและจะมบี ทบาทในทกุ วงการคอื เทคโนโลยปี ญั ญาประดษิ ฐ์ หรอื
เรยี กสน้ั ๆ วา่ เอไอ (Artificial Intelligence: AI) ซงึ่ เปน็ ศาสตรแ์ ขนงหนง่ึ ของวทิ ยาศาสตรค์ อมพวิ เตอร์
ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการท�ำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถคล้ายมนุษย์หรือเลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ โดย
เฉพาะความสามารถในการคิดเองได้หรือมีปัญญานั่นเอง ปัญญานี้มนุษย์เป็นผู้สร้างให้คอมพิวเตอร์
จงึ เรยี กวา่ ปญั ญาประดษิ ฐ์ มมุ มองตอ่ AI ทแี่ ตล่ ะคนมอี าจไมเ่ หมอื นกนั ขนึ้ อยกู่ บั วา่ เราตอ้ งการความฉลาด
โดยค�ำนึงถึงพฤติกรรมท่ีมีต่อส่ิงแวดล้อมหรือค�ำนึงถึงการคิดได้ของผลผลิต AI ดังนั้น จึงมีค�ำนิยาม
คุณสมบัติของ AI ตามความสามารถท่มี นุษย์ตอ้ งการไดเ้ ป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) การกระท�ำคล้ายมนุษย์
2) การคดิ คลา้ ยมนษุ ย์ 3) การคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล และ 4) การกระทำ� อยา่ งมเี หตผุ ล (มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล,
2562)

กิจกรรม 8.3.2
       1. 	จงบอกความหมายของเทคโนโลยีการเชือ่ มตอ่ ของสรรพส่งิ (IoT)
       2. 	เทคโนโลยกี ารเช่อื มตอ่ ของสรรพส่งิ (IoT) นำ� ไปใชป้ ระโยชน์ดา้ นใดได้บา้ ง
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82