Page 80 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 80

8-70 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกบั สือ่ มวลชน
       7) 	การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละการบรกิ ารทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยี IoT
       8) 	นโยบายทสี่ นบั สนนุ การลงทนุ ของภาคเอกชนใหย้ กระดบั การผลติ และบรกิ ารโดยใชเ้ ทคโนโลยี IoT
       ดว้ ยภารกจิ ทต่ี อ้ งตามใหท้ นั การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยโี ทรคมนาคมดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ กสทช.

ได้เดินหน้าการเรียกคืนคล่ืนความถี่ 700 MHz จากโทรทัศน์ดิจิทัล เพ่ือน�ำมาใช้ส�ำหรับเทคโนโลยี 5G
และจะจดั การประมลู คลื่นความถีใ่ น พ.ศ. 2562 น้ี อย่างไรก็ตาม การพฒั นาเทคโนโลยใี ห้ก้าวทนั โลกนั้น
ควรค�ำนึงถึงการพัฒนาทางด้านอุปสงค์ควบคู่ไปด้วย เช่น การให้ความรู้และความเข้าใจรวมถึงการชี้ให้
ประชาชนทใี่ ชง้ านและประชาชนทว่ั ไปไดม้ องเหน็ ประโยชนส์ ว่ นเพมิ่ มหาศาลทคี่ าดวา่ จะเกดิ จากเทคโนโลยี
5G IoT และสื่อใหม่อื่นๆ ท้ังในระดับบุคคลและระดบั ประเทศ เพราะหากประชาชนผใู้ ชย้ งั ไมส่ ามารถใช้
ประโยชนจ์ ากสอ่ื ใหมไ่ ดถ้ กู ตอ้ งเตม็ ท่ี ยอ่ มไมส่ ามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศได้
นอกจากนั้น ยังควรให้ความรู้ถึงความเสี่ยงและปัญหาที่อาจตามมาพร้อมกับเทคโนโลยีเหล่าน้ัน เช่น
การใช้งานอย่างมีจริยธรรม ความเป็นส่วนตัว ปัญหาลิขสิทธ์ิและปัญหาอาชญากรรมไซเบอร์ เพ่ือให้
การพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศก้าวไปได้ถูกทิศทางและประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งด้านเศรษฐกิจ
ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรมไปพรอ้ มๆ กนั

กิจกรรม 8.3.3
       1. 	จงบอกปัญหาและอปุ สรรคของการใช้เทคโนโลยี 5G
       2. 	จงบอกปัญหาและอุปสรรคของการใช้เทคโนโลยีการเช่อื มตอ่ ของสรรพส่ิง (IoT)

แนวตอบกิจกรรม 8.3.3
       1. ปญั หาและอุปสรรคของการใช้เทคโนโลยี 5G และเทคโนโลยีการเช่อื มต่อของสรรพสง่ิ (IoT)

มีความเช่ือมโยงกัน ต้องตระหนักว่าความต้องการคลื่นความถ่ีส�ำหรับเทคโนโลยี 5G จะเพ่ิมมากข้ึน
เนอื่ งจากปรมิ าณการใชง้ านขอ้ มลู ทม่ี แี นวโนม้ สงู ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ ปจั จบุ นั นถี้ อื วา่ เปน็ ปญั หาและอปุ สรรค
ในการพฒั นา แต่ กสทช. ไดม้ กี ารวางแผนเรยี กคนื คลน่ื จากโทรทศั นด์ จิ ทิ ลั มาใชส้ ำ� หรบั เทคโนโลยี 5G แลว้

       2. 	ปัญหา อุปสรรคและแนวโน้มของการใช้เทคโนโลยีการเชื่อมต่อของสรรพส่ิง (IoT) ซึ่งต้อง
อาศัยโครงสร้างพ้ืนฐานอินเทอร์เน็ตน้ัน มีข้อพิจารณาหลายประการ เช่น 1) ต้องการโครงสร้างพ้ืนฐาน
ทางโทรคมนาคมทร่ี องรบั ปรมิ าณขอ้ ขอ้ มลู ทมี่ ากขนึ้ 2) ตอ้ งการคลน่ื ความถที่ มี่ ากขนึ้ เพอ่ื รองรบั การเชอื่ ม
ต่อแบบไร้สาย 3) ระบบเลขหมายหรือระบบการระบุตัวตนในโครงข่ายที่มากพอต่อการรองรับจ�ำนวน
อปุ กรณ์ทเ่ี พิ่มมากข้ึนในโครงขา่ ยได้ 4) ความสามารถในการรองรับอุปกรณ์ท่มี มี าตรฐานและคณุ ลักษณะ
ทางเทคนคิ ทห่ี ลากหลายมากเพอ่ื สนบั สนนุ การทำ� งานรว่ มกนั ได้ 5) การจดั การดา้ นความมน่ั คงของระบบ
ไซเบอรแ์ ละความเปน็ ส่วนตวั ของผู้ใชง้ าน 6) ระบบก�ำกบั ดแู ลแบบใหม่เพื่อรองรับการประกอบกจิ การใน
รปู แบบใหม่ 7) การสนบั สนนุ ใหม้ กี ารวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม สงิ่ ประดษิ ฐแ์ ละการบรกิ ารทใี่ ชเ้ ทคโนโลยี
IoT และ 8) นโยบายทสี่ นบั สนนุ การลงทนุ ของภาคเอกชนใหย้ กระดบั การผลติ และบรกิ ารโดยใชเ้ ทคโนโลยี IoT
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85