Page 36 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 36

12-26 พื้นฐานสังคมและวัฒนธรรมเขมร

                          ภาพที่ 12.23 ประตมิ ากรรมพระพรหม จากเมอื งบาเสต

ทมี่ า: ทรงธรรม ปานสกุณ.

       1.8 ศิลปะแบบแปรรูป ศิลปะสมัยน้ีไม่มีลักษณะของตนเองมากนัก ประติมากรรมพยายาม
เลียนแบบของเก่า ทาให้มีลักษณะต่างจากกับศิลปะแบบเกาะแกร์และบันทายสรี จึงสมควรจัดขึ้นเป็น
ศิลปะโดยเฉพาะตา่ งหาก ประตมิ ากรรมมกั มีขนาดเลก็ กว่าทเ่ี กาะแกร์ และหนั กลบั ไปมที ่าแขง็ กระด้างอกี
แต่ใบหน้าอ่อนหวาน ประติมากรรมเคร่ืองแต่งกายรูปบุรุษมีความพยายามคิดค้นแบบของใหม่ ซ่ึงไม่มี
การสืบเนื่องต่อลงมา คือ มีการผสมปลายชายพกบนต้นขาด้านซ้ายเข้ากับผ้าโจงกระเบน ซ่ึงมีขอบผ้า
พับยอ้ นออกมาทางหนา้ ท้อง และชายผ้ารปู คลา้ ยสมอเรือห้อยทางด้านหนา้ สองช้ัน แต่โดยทวั่ ไปผา้ โจง-
กระเบนประติมากรรมรูปบุรุษในสมัยนี้สืบเนื่องมาจากศิลปะแบบบาแค็งนั่นเอง แต่มีชายผ้ารูปสมอเรือ
หอ้ ยด้านหน้าช้นั บนนอ้ ยกวา่ ชั้นล่าง เช่น รปู วาชิมขุ จากปราสาทสมโบร์ไพรกกุ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41