Page 37 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 37

ประตมิ ากรรม 12-27

                           ภาพที่ 12.24 ประตมิ ากรรมวาชิมขุ

ท่มี า: ทรงธรรม ปานสกณุ .

       เครือ่ งแตง่ กายของประตมิ ากรรมสตรมี ีเพยี งรูปปัน้ เทพธดิ าปูนปน้ั บนผนงั ศาสนสถานขนาดใหญ่
ชายผา้ รูปสามเหลีย่ มซึง่ ยงั คงมีอยู่ที่ปราสาทแม่บุญตะวันออกได้หายไป ณ ปราสาทแปรรปู ขอบผ้าที่พบั
ย้อนออกมาทางหน้าท้องแคบกว่าศิลปะแบบเกาะแกร์ “กิรีฏมงกุฎ” ยังคงมีลักษณะเช่นเดียวกัน แต่
ลวดลายเคร่ืองประดับมีเพิ่มมากข้ึน “ชฎามงกุฎ” มีลักษณะเช่นเดียวกัน ในภาพสลักนูนต่าบางครั้งก็มี
ลักษณะพิเศษของศิลปะแบบบันทายสรีปรากฏขึ้น เป็นต้นว่าทรงผมตามธรรมชาติคือ ผมท่ีเกล้าอย่าง
ง่ายๆ เช่น บนทับหลังของปราสาทแม่บุญตะวันออก ผ้าโจงกระเบนบางคร้ังแสดงออกถึงการนุ่งผ้าแบบ
ใหม่ในศิลปะแบบบันทายสรีอีก แต่ผู้สวมยังคงมีทรงผมและหน้าตาแบบเดิมเช่นรูป “ทิกปาลก” หรือ
ผ้รู ักษาทิศ ประดบั ฐานประติมากรรมท่ีปราสาทแปรรูปในระเบียงชน้ั ท่ี 2 เป็นต้น

       1.9 ศิลปะแบบบันทายสรี ประติมากรรมในสมัยนี้มีลักษณะเลียนแบบของเก่าและมขี นาดเลก็ ลง
นอกจากเครือ่ งแต่งกายเปน็ ริว้ ตามแบบเกาะแกร์
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42