Page 69 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 69
ประตมิ ากรรม 12-59
มาของพระโพธิสัตว์ศรีอารยเมตไตรย์ พระอนาคตพระพุทธเจ้า สัญลักษณ์ที่สาคัญคือมีรูปพระธยานิ-
พุทธอมิตาภะปางสมาธปิ ระทบั อยู่เหนือเศียรของประติมากรรม ในส่วนที่สลกั เป็นพระโพธสิ ตั ว์ 2 กร นัน้
มักจะเป็นปางทเ่ี รยี กว่า ปัทมปาณี
นางปรัชญาปารมติ า รูปเคารพของนางปรัชญาปารมิตาได้รับความนิยมอย่างมากในศิลปะเขมร
และไดแ้ พรม่ าสู่ดนิ แดนประเทศไทยด้วย โดยมักจะสรา้ งคกู่ ับพระโพธิสตั ว์อวโลกเิ ตศวรในภาคที่เปน็ สตรี
และรูปบุคคลในคัมภีร์ปรัชญาพระนางเป็นศักติของพระโพธิสัตว์วัชรธร (สมิทธิ ศิริภัทร์ และมยุรี
วีระประเสริฐ, 2533: 170) ซึ่งเป็นอาทิพุทธพระองค์หน่ึง สัญลักษณ์ที่สาคัญของพระองค์ ได้แก่ ทรงถือ
คัมภีร์ และดอกบวั อย่ใู นมอื ไดพ้ บรูปเคารพของพระองคบ์ นทับหลงั สลักประกอบกบั รปู รัตนตรยั มหายาน
โดยปรากฏอยูท่ างด้านซ้ายของพระพุทธรปู นาคปรก
พระวชั รสัตว์ เปน็ พุทธเทพอีกองค์หนึ่งที่มคี วามสาคัญในพทุ ธศาสนาลัทธิมหายาน ทรงถอื วัชระ
และกระดิ่งเป็นสัญลักษณ์ ภาพสลักที่สันนิษฐานว่าคือ พระวัชระ อยู่ท่ีทับหลังด้านทิศเหนือ ปรางค์
ประธานของปราสาทพมิ าย
ภาพที่ 12.57 พระวชั รสัตว์บนทบั หลงั ปราสาทพมิ าย
ทมี่ า: ทรงธรรม ปานสกณุ .