Page 27 - พื้นฐานสังคมเเละวัฒนธรรมเขมร
P. 27

สภาพสังคม 4-17

นุวงศ์ก็ช่วยสนับสนุนบทบาทแก่พระมหากษัตริย์ โดยค้าชูราชวงศ์ให้ม่ันคง พระมหากษัตริย์และ
พระบรมวงศานุวงศ์มีความสาคัญต่อสังคมมาตลอดระยะเวลาทางประวัติศาสตร์กว่าสองพันปี จะมีเพียง
บางช่วงเท่านั้นท่ีว่างเว้นจากพระมหากษัตริย์ อาทิ ในช่วงความสับสนวุ่นวายทางการเมืองและสังคม
ในทศวรรษที่ 1970 หรือในครั้งท่ีเวียดนามเข้ามามีบทบาททางการเมือง โดยเฉพาะในทศวรรษท่ี 1980
(Charadine Pich ใน www.acade mia.edu สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี 11 กรกฎาคม 2561) ชาวเขมรยงั คงผกู พัน
กบั ระบบกษัตรยิ ์ท่ีอย่คู ่กู ับสงั คมและประชาชนมายาวนาน ภายหลงั จึงได้ฟืน้ ฟแู ละสถาปนาพระมหากษัตริย์
ข้นึ อกี คร้ัง

       บางช่วงของประวตั ิศาสตรพ์ ระมหากษตั รยิ ์และพระบรมวงศานวุ งศก์ ไ็ ด้รับแรงกดดันจากต่างชาติ
โดยเฉพาะยคุ ล่าอาณานคิ มของตะวนั ตก ส่งผลให้การปกครองของพระมหากษัตริย์อยู่ในภาวะยุ่งยาก ท่ี
เห็นได้ชัดคือการถูกกดดันทางการเมืองจากฝร่ังเศส ไทย และเวียดนาม พระมหากษัตริย์จึงไม่มีพระราช
อานาจโดยสมบรู ณ์ หรือในบางช่วงถูกจากัดพระราชอานาจและจากดั ขอบเขตให้อยู่แต่ในพระบรมมหา-
ราชวงั ท้ายทสี่ ุดจงึ ลีภ้ ยั ไปตา่ งประเทศ อาทิ นกั องคด์ ้วงหรือสมเด็จพระหรริ ักษร์ ามาอิศราธิบดี พระองค์
ทรงล้ีภัยมาพานักในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 27 ปี นักองค์ด้วงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักร
กมั พูชาสมัยใหม่ และเปน็ ต้นราชวงศ์นโรดมในชว่ งเหตกุ ารณ์ความวนุ่ วายท่ีเขมรถูกเพ่ือนบา้ นอย่างไทย
และเวียดนามกดดัน

       ในปัจจุบนั ราชอาณาจกั รกมั พชู าปกครองโดยระบอบประชาธปิ ไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข พระมหากษัตริย์จึงมีความสาคัญต่อประเทศและประชาชน ทั้งในฐานะชนชั้นสูงของสังคมและ
เคร่อื งยดึ เหนีย่ วจิตใจของคนในสังคม พระมหากษัตริยแ์ ละพระบรมวงศานวุ งศท์ ี่จะกล่าวถงึ มีดังน้ี

    1) พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ RBH)aTsemþcRBHneratmþ sIhnu ประสูติเมื่อ 31 ตุลาคม

ค.ศ. 1922 เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต ในช่วงต้นทรงเข้า
ศึกษาในกรุงพนมเปญ จากน้ันจึงทรงไปศึกษาระดับมัธยมศึกษาท่ีประเทศเวียดนามใต้ และศึกษาวิชา
ทหารที่ฝร่ังเศส พระองค์เปน็ กษตั รยิ ์ทส่ี ร้างประวัตศิ าสตร์ทางสังคมอย่างมาก ท้ังการข้นึ ครองราชสมบตั ิ
สองช่วงเวลา คือช่วงแรก ค.ศ. 1941-1954 และช่วงท่ีสอง ค.ศ. 1993-2004 นอกจากน้ียังดารงตาแหน่ง
สาคัญหลายตาแหน่งท้ังนายกรัฐมนตรี ประมุขแห่งรัฐ ผู้นาทางการเมือง ฯลฯ ชาวเขมรมีความรักและ
ความผูกพันต่อพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ โดยใช้คาแทนพระองค์ว่า “สมเด็จพ่อ” พระองค์ได้รับ
การยกย่องว่าเป็นพระบดิ าแห่งเอกราชชาติ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32