Page 45 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 45

ระบบทอ่ ป๊มั เครอื่ งอัดอากาศและเคร่อื งระบายอากาศ 14-35

                     3) ปั๊มแบบเสื้อยืดหยุ่น (Flexible liner) โรเตอร์ (ตัวขับ) ที่หมุนอยู่บนเพลา
เยื้องศูนย์ ท่ีติดต้ังอยู่ภายในท่อพลาสติกกลมหนาที่ยืดหยุ่นได้ (thermoplastic) โดยโรเตอร์และน�้ำมัน
ซิลิโคนทีม่ ีความหนืด 1000 cSt. จะถูกขงั อยู่ในห้องปดิ โดยตวั โรเตอรจ์ ะดนั ผนังของท่อติดแนบ (liner)
กบั ผนงั เสอื้ ปม๊ั อยหู่ นงึ่ จดุ เสมอ การทำ� งาน [1] เมอื่ โรเตอรห์ มนุ (ทวนเขม็ นาฬกิ า) นำ�้ มนั ซลิ โิ คนจะถกู ดนั
ให้มาอย่ใู นทิศทางตรงกันข้ามกับโรเตอร์ [2] เมอ่ื โรเตอร์ หมนุ ลงมาขา้ งล่างจะเกดิ โพลงทภ่ี ายนอก (ด้าน
ซ้ายของโรเตอร์) ของเหลวจะไหลเข้ามาแทนที่ [3] ของเหลวจะไหลเข้ามากขึ้นขณะเดียวกัน (ด้านขวา
ของโรเตอร)์ กจ็ ะผลักของเหลวออกพรอ้ มกัน จนของเหลวไหลออกหมด [4] ดงั ภาพที่ 14.13

                                             Suction               Discharge
                                                                         Trapped fluid

                                   Rotor PFulemxpiblbeodliyner
                                               cpMooominvttiancgt
นำ�้ มนั ซลิ โิ คน  ความหนดื  100  cSt.      plate                 Static  seal  joint
                                      Cover                                      PFulemxipblbeoldiyner
                                                                                 Bearing frame

โรเตอร์                            Rasosteamtinbgly

                         ภาพท่ี 14.13 ปมั๊ แบบเสื้อยดื หยนุ่ (Flexible liner)

ที่มา:	 http://www.mcilvainecompany.com/
	 http:/www.vanton com/articles/article/php?artlD=1024

                1.1.4	 ปั๊มแบบสกรู (Screw)
                     1)	ปั๊มโพรงต่อเนื่อง (Progressive cavity pump) หรือปั๊มโมโน หรือสกรูปั๊ม

เปน็ ปั๊มกลุ่มโรตารี่ โดยมีสว่ นประกอบสำ� คญั อยู่ 2 ช้นิ คอื โรเตอร์ (rotor) ทรี่ ปู ร่างเป็นสกรูทหี่ มุนรอบตวั
เองแบบเยอ้ื งศนู ย์ และสเตเตอร์ (stator) เปน็ เส้ือปัม๊ ท่ีเปน็ โพรงกลวงรปู รา่ งคล้ายสกรขู องสองตัวโรเตอร์
ยึดติดกัน (double-helix stator) ปริมาตรภายในของสเตเตอร์จึงเป็นประมาณเกือบสองเท่าของสกรู
โรเตอร์ ตวั โรเตอรท์ ำ� จากวสั ดแุ ขง็ ทที่ นการขดู ขดี และมผี วิ มนั สว่ นตวั สเตเตอร์ (stator) ทำ� จากวสั ดยุ ดื หยนุ่
ท่ีมีผิวเรียบ และถูกเคลือบผิวด้วยวัสดุทนการขูดขีด เมื่อโรเตอร์หมุนตัว ผิวนอกของโรเตอร์จะหมุนม้วน
รอบผิวด้านในของโพรงในของและสเตเตอร์ การเคล่ือนไหวของโรเตอร์เป็นเช่นเดียวกับระบบพลาเนตาร่ี
เกียร์ (planetary gears) ขณะทีโ่ รเตอร์หมนุ ตวั แกนกลางการหมนุ ของของโรเตอรจ์ ะเป็นในรปู แบบของ
ไฮโปรไซคลอยด์ (hypocycloid) ในกรณนี ้ลี กั ษณะของโรเตอรเ์ ป็นเกลยี วเดยี ว และสเตเตอร์เปน็ เกลยี ว
แบบสองตวั โรเตอรย์ ึดติดกนั ดังนน้ั แกนการหมนุ ของโรเตอร์จงึ เปน็ เสน้ ตรง การท�ำงานเรมิ่ ต้นทีท่ างดดู
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50