Page 9 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 9
(7)
3.2 การอ่านเนื้อหาในแต่ละเรื่อง ปกติควรอ่านหนึ่งเท่ียวก่อน ขอให้นักศึกษาพยายามบันทึก
สาระส�ำคัญของแต่ละเรื่อง ตอนท้ายของแต่ละเรื่องจะมี “กิจกรรม” การท�ำกิจกรรมจะช่วยให้นักศึกษา
สามารถประเมินผลตนเองได้ว่า นักศึกษามีความเข้าใจในส่ิงท่ีอ่านมากน้อยเพียงใด อันจะเป็นประโยชน์
ส�ำหรับนักศึกษาในแง่การท�ำข้อสอบในการสอบเพ่ือประเมินผลครั้งสุดท้ายของชุดวิชา และการได้รับ
ความรู้อย่างแท้จริง ฉะน้ัน นักศึกษาจึงควรพยายามท�ำกิจกรรมทุกอย่างด้วยตนเอง
3.3 การรับชมการสอนเสริมเพื่อการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือผ่านดาวเทียม ให้
นักศึกษาศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมจากเอกสารเผยแพร่ของมหาวิทยาลัย รวมท้ังทางเว็บไซต์ของ
มหาวิทยาลัยท่ี http://www.stou.ac.th
4. การท�ำกิจกรรม
นกั ศกึ ษาจะตอ้ งบนั ทกึ สาระสำ� คญั และทำ� กจิ กรรมทกุ อยา่ งทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย โปรดเขยี นกจิ กรรม
ทุกหน้าลงในสมุดบันทึกด้วยตนเอง แล้วตรวจสอบค�ำตอบกับแนวตอบท่ีก�ำหนดไว้
นอกจากน้ีในช่วงต้นของภาคการศึกษา อาจมีการก�ำหนดให้นักศึกษาสามารถท�ำกิจกรรมประจ�ำ
ชุดวิชา และถือเป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยนักศึกษาต้องจัดส่งกิจกรรมท่ีท�ำแล้ว
เสร็จมายังมหาวิทยาลัยตามเวลาที่ก�ำหนด ท้ังน้ีนักศึกษาอาจเลือกท�ำหรือไม่ท�ำก็ได้ มหาวิทยาลัยจะจัด
ส่งกิจกรรมประจ�ำชุดวิชาแก่นักศึกษา หรือนักศึกษาอาจดาวน์โหลดกิจกรรมประจ�ำชุดวิชาทางเว็บไซต์
ของมหาวิทยาลัยที่ http://www.stou.ac.th
5. การชมดีวีดีประจ�ำชุดวิชา (ถ้ามี)
6. การรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา
กรณีที่นักศึกษาต้องการค้นคว้าความรู้เพ่ิมเติมจากเอกสารการสอนชุดวิชา นักศึกษาสามารถ
ขอรับบริการจากศูนย์บริการเฉพาะกิจ มุม มสธ. และศูนย์วิทยพัฒนา ซ่ึงจัดเตรียมหนังสือ เอกสารต่างๆ
ไว้ตามความเหมาะสมของแต่ละชุดวิชา
ในการขอรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา นักศึกษาต้องน�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาและ
บัตรลงทะเบียนเรียนชุดวิชาไปแสดงด้วย
7. การสอบ
ส�ำนักทะเบียนและวัดผลจะแจ้งรายละเอียดให้นักศึกษา เมื่อส้ินภาคการศึกษา นักศึกษาต้องเข้า
สอบไล่ ณ สนามสอบท่ีจัดไว้ตามวันและเวลาท่ีก�ำหนด นักศึกษาต้องน�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาและ
บัตรประจ�ำตัวประชาชนหรือบัตรประจ�ำตัวข้าราชการ อย่างน้อย 2 บัตร