Page 14 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 14
15-4 สารสนเทศศาสตร์เบอ้ื งต้น
ตอนที่ 15.1
กฎหมายเกี่ยวกับสารสนเทศ
โปรดอ่านหัวเร่ือง แนวคดิ และวตั ถปุ ระสงค์ของตอนที่ 15.1 แลว้ จึงศกึ ษารายละเอยี ดต่อไป
หัวเร่ือง
15.1.1 กฎหมายเกี่ยวกบั ขอ้ มูลข่าวสารของราชการและงานสารบรรณ
15.1.2 กฎหมายเกีย่ วกับทรัพย์สินทางปัญญา
แนวคิด
1. ก ฎหมายที่เก่ียวกับข้อมูลข่าวสารของราชการ คือพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540 เปน็ กฎหมายท่รี บั รองสทิ ธใิ นการรับรขู้ อ้ มูลข่าวสารของประชาชน
และกำ� หนดหนา้ ทขี่ องหนว่ ยงานของรฐั และเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ใหต้ อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
โดยมหี ลักการส�ำคญั คือ ข้อมูลข่าวสารของราชการเกือบทั้งหมดหรอื สว่ นใหญ่ จะตอ้ ง
สามารถเปิดเผยเป็นการท่ัวไปได้ โดยข้อยกเว้นจะมีได้เฉพาะท่ีกฎหมายก�ำหนดว่า
ไม่ต้องเปิดเผยเท่านั้น ท่ีหากเปิดเผยไปแล้วจะเกิดความเสียหายต่อประเทศชาติหรือ
ต่อประโยชน์ท่ีส�ำคัญของเอกชน ส่วนการด�ำเนินงานด้านสารบรรณของหน่วยงาน
ของรัฐมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 เปน็ ระเบยี บทใี่ ชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ งานดา้ นเอกสาร ตง้ั แตก่ ารจดั ทำ�
การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม และการท�ำลายเอกสาร ซ่ึงจะใช้บังคับกับ
สว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานอนื่ ใดของรฐั ทง้ั ในราชการบรหิ ารสว่ นกลาง ราชการบรหิ าร
สว่ นภูมภิ าค ราชการบรหิ ารส่วนท้องถนิ่ หรอื ในตา่ งประเทศ
2. ก ฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญามดี ว้ ยกนั หลายฉบบั ซง่ึ ในสว่ น
ท่ีเกี่ยวข้องกับสารสนเทศจะประกอบด้วย พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 เป็น
กฎหมายท่ีให้ความคุ้มครองแก่ผู้สร้างสรรค์ผลงานท่ีจะกระท�ำการใดๆ เก่ียวกับงานที่
ตนไดท้ ำ� ขนึ้ อนั ไดแ้ ก่ สทิ ธทิ จี่ ะทำ� ซา้ํ ดดั แปลง หรอื นำ� ออกโฆษณา ไมว่ า่ ในรปู ลกั ษณะ
อยา่ งใดหรอื วธิ ใี ด รวมทงั้ อนญุ าตใหผ้ อู้ น่ื นำ� งานนน้ั ไปทำ� เชน่ วา่ นน้ั ดว้ ย พระราชบญั ญตั ิ
สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายที่ให้ความคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้น และการ
ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ท่ีมคี วามใหม่ มีขนั้ การประดษิ ฐท์ ่ีสูงขน้ึ และสามารถประยุกตใ์ ช้ใน
ทางอุตสาหกรรม และพระราชบัญญัตเิ ครอ่ื งหมายการค้า พ.ศ. 2534 เปน็ กฎหมายที่
ให้ความคุ้มครองแก่เครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เคร่ืองหมายรับรอง และ
เครื่องหมายร่วม ที่มีลักษณะเฉพาะและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายน้ี รวมท้ัง
จะตอ้ งไม่เหมือนหรือคล้ายกบั ของผูอ้ น่ื ที่ได้จดทะเบยี นไวแ้ ลว้