Page 16 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 16
15-6 สารสนเทศศาสตร์เบอื้ งตน้
เรื่องท่ี 15.1.1
กฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการและงานสารบรรณ
กฎหมายเกยี่ วกบั สารสนเทศของประเทศไทยทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั หนว่ ยงานของรฐั และถอื เปน็ ฉบบั หลกั
คอื พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ซงึ่ กำ� หนดแนวทางในการคมุ้ ครองขอ้ มลู ขา่ วสาร
ประเภทต่างๆ ต้ังแต่การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลข้อมูล รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลหรือการน�ำ
ข้อมูลไปใช้ ซ่ึงความส�ำคัญท่ีจะต้องศึกษากฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการคือ เพื่อเป็นแนวทางใน
ด�ำเนินการเก่ียวกับข้อมูลข่าวสารประเภทต่างๆ และเพื่อให้การใช้สิทธิและหน้าท่ีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นไปอย่างถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ยังมีกฎหมายท่ีเก่ียวกับ
งานสารบรรณอกี ฉบับหนึ่ง คือ ระเบยี บสำ� นักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรณ พ.ศ. 2526 ซง่ึ กำ� หนด
หลกั เกณฑ์เกย่ี วกับงานสารบรรณหรือการบรหิ ารงานเอกสารในหน่วยงานของรฐั
1. กฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการ
พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 เปน็ กฎหมายเฉพาะทม่ี กี ำ� หนดหลกั เกณฑ์
การประมวลขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ โดยมหี ลกั การพนื้ ฐานคอื การรบั รองสทิ ธทิ จี่ ะไดร้ ขู้ อ้ มลู ขา่ วสารของ
ประชาชน เกย่ี วกบั การด�ำเนนิ งานต่างๆ ของรัฐ เพ่ือให้สามารถแสดงความคดิ เห็นและมสี ่วนรว่ มในทาง
การเมือง โดยอยู่บนพ้ืนฐานของข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้อง ตลอดจนเพื่อความคุ้มครองข้อมูลข่าวสาร
ส่วนบุคคลท่ีอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานรัฐ โดยก�ำหนดอ�ำนาจหน้าท่ีของ
หนว่ ยงานของรัฐ และการใช้สิทธขิ องประชาชนท่เี กยี่ วขอ้ งกับขอ้ มลู ข่าวสารดังกล่าว
1.1 ความเป็นมาและความส�ำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของราชการ สิทธิที่จะ
ได้รู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน (right to know) ได้มีการรับรองไว้ครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราช-
อาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หมวด 3 วา่ ด้วยสิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาวไทย ดงั นี้
มาตรา 58 “บคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ทราบขอ้ มลู หรอื ขา่ วสาธารณะในครอบครองของหนว่ ยราชการ
หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่การเปิดเผยข้อมูลนั้นจะกระทบต่อความ
มน่ั คงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรอื ส่วนไดเ้ สยี อนั พงึ ไดร้ ับความคมุ้ ครองของบคุ คลอนื่ ท้งั นี้
ตามที่กฎหมายบญั ญัต”ิ
มาตรา 59 “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล ค�ำช้ีแจง และเหตุผลจากหน่วยราชการ หน่วยงาน
ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ก่อนการอนุญาตหรือการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่
อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตหรือส่วนได้เสียส�ำคัญอื่นใดท่ี
เกย่ี วกบั ตนหรอื ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และมสี ทิ ธแิ สดงความคดิ เหน็ ของตนในเรอื่ งดงั กลา่ ว ทงั้ นต้ี ามกระบวนการ
รบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชนทีก่ ฎหมายบญั ญตั ”ิ