Page 17 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 17

กฎหมายและจริยธรรมสารสนเทศ 15-7
       ต่อมารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้รับรองสิทธิที่จะได้รับรู้ข้อมูล
ขา่ วสารไวเ้ ปน็ สทิ ธขิ นั้ พน้ื ฐานอยา่ งหนงึ่ ของประชาชน โดยกำ� หนดวา่ ประชาชนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ ขู้ อ้ มลู ขา่ วสาร
ทอี่ ยูใ่ นความครอบครองของหนว่ ยงานของรัฐ ซึง่ การรบั รองสิทธิดังกลา่ วปรากฏตามความในรัฐธรรมนญู
ในหมวด 3 วา่ ดว้ ยสิทธแิ ละเสรีภาพของชนชาวไทย สว่ นที่ 10 ไวด้ งั นี้
       มาตรา 56 “บคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ทราบและเขา้ ถงึ ขอ้ มลู หรอื ขา่ วสารสาธารณะในครอบครองของ
หนว่ ยราชการ หนว่ ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรอื ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ เวน้ แตก่ ารเปดิ ขอ้ มลู หรอื ขา่ วสารนน้ั
จะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับความคุ้มครอง
ของบคุ คลอนื่ หรอื เปน็ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ทงั้ นี้ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญัต”ิ
       มาตรา 57 “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล ค�ำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยราชการ หน่วยงาน
ของรฐั รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น ก่อนการอนุญาตหรือการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดท่ี
อาจมีผลกระทบตอ่ คณุ ภาพส่ิงแวดล้อม สขุ อนามยั คณุ ภาพชวี ติ หรอื สว่ นได้เสยี สำ� คัญอันใดเก่ยี วกับตน
หรือชุมชนท้องถ่ิน และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือน�ำไปประกอบการ
พิจารณาในเรื่องดังกลา่ ว
       สิทธิที่จะได้รู้ข้อมูลข่าวสารน้ีได้ถูกบัญญัติไว้เป็นการเฉพาะในพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ
ราชการ พ.ศ. 2540 ซ่ึงมผี ลบังคบั ใช้เม่อื วนั ท่ี 9 ธนั วาคม พ.ศ. 2540 โดยมีเจตนารมณ์เพ่ือคุ้มครองสิทธิ
ในการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารทอ่ี ยใู่ นความครอบครองของหนว่ ยงานของรฐั รวมทงั้ คมุ้ ครองขอ้ มลู ขา่ วสารสว่ น
บคุ คลทอ่ี าจถกู ลว่ งละเมดิ เพอ่ื ประโยชนข์ องสงั คมสว่ นรวม และเพอื่ คมุ้ ครองสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลของประชาชน
จากการนำ� ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลไปใช้ ซงึ่ อาจกระทบตอ่ ความเปน็ สว่ นตวั หรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกบ่ คุ คล
น้นั ๆ
       อย่างไรก็ดี รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซ่ึงมีผลบังคับใช้เม่ือวันท่ี
6 เมษายน พ.ศ. 2560 ไมไ่ ด้มกี ารบญั ญตั ิรับรองสิทธิที่จะไดร้ ู้ขอ้ มูลข่าวสารของประชาชนไว้โดยตรง แต่
มีการรับรองสิทธิส่วนบุคคลของประชาชนไว้ในหมวด 3 ว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
มาตรา 32 ว่า “บคุ คลยอ่ มมีสิทธิในความเป็นอยูส่ ว่ นตัว เกยี รติยศ ชือ่ เสยี ง และครอบครวั การกระทํา
อนั เปน็ การละเมดิ หรอื กระทบตอ่ สทิ ธขิ องบคุ คลตามวรรคหนง่ึ หรอื การนาํ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลไปใชป้ ระโยชน์
ไม่วา่ ในทางใดๆ จะกระทํามิได้ เว้นแต่โดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญตั ิแหง่ กฎหมายที่ตราขนึ้ เพียงเท่าที่
จาํ เปน็ เพอื่ ประโยชนส์ าธารณะ” ซงึ่ ใหค้ วามคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คลของประชาชนวา่ จะไมถ่ กู ลว่ งละเมดิ
       1.2		สาระสำ� คญั ของพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู
ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มีแนวคิดเน่ืองมาจากในระบบประชาธิปไตย การให้ประชาชนมีโอกาส
รบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การตา่ งๆ ของรฐั เปน็ สงิ่ ทจี่ ำ� เปน็ เพอื่ ทป่ี ระชาชนสามารถแสดงความ
คดิ เหน็ และใชส้ ทิ ธทิ างการเมอื งไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งกบั ความเปน็ จรงิ อนั เปน็ หลกั การพนื้ ฐานของการปกครอง
ในระบอบประชาธปิ ไตย รฐั ธรรมนญู จงึ ไดก้ ำ� หนดใหป้ ระชาชนมสี ทิ ธใิ นการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ
โดยก�ำหนดข้อยกเว้นในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารท่ีชัดเจน และจ�ำกัดเฉพาะข้อมูลข่าวสารที่หาก
เปดิ เผยแลว้ จะเกดิ ความเสยี หายตอ่ ประเทศชาตหิ รอื ตอ่ ประโยชนท์ สี่ ำ� คญั ของประชาชน ทง้ั น้ี เพอ่ื พฒั นา
ระบอบประชาธิปไตยให้ม่ันคง และท�ำให้ประชาชนมีโอกาสได้รับรู้ถึงสิทธิหน้าท่ีของตนให้อย่างเต็มที่
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22