Page 21 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 21
กฎหมายและจริยธรรมสารสนเทศ 15-11
ตัวอย่างของข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เช่น ประวัติทางการเงินของลูกค้าที่ธนาคาร
จดั เกบ็ ทอี่ าจใชเ้ พอื่ ตดั สนิ ใจในการใหส้ นิ เชอ่ื แกล่ กู คา้ คนดงั กลา่ ว ประวตั กิ ารทำ� งานของลกู จา้ งหรอื พนกั งาน
ท่ีหน่วยงานของรัฐจัดเก็บเพ่ือใช้ในการประเมินการท�ำงานของลูกจ้างหรือพนักงาน หรือหมายเลข
บตั รประจำ� ตวั ประชาชน หมายเลขบตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ขอ้ มลู ขา่ วสาร
ประเภทนี้เป็นเรื่องราวส่วนตัวของบุคคล จะเปิดเผยได้เท่าที่จ�ำเป็นโดยได้รับความยินยอมจากเจ้าของ
ขอ้ มลู เท่านัน้
3) ขอ้ มลู ขา่ วสารทไี่ มต่ อ้ งเปดิ เผย หมายถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ
ความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ หรือเป็นข้อมูลที่หากได้มีการเปิดเผยไปอาจก่อให้เกิดความ
เสยี หายตอ่ ความมั่นคงของประเทศ หรือทำ� ใหก้ ารบงั คบั ใชก้ ฎหมาย ไมว่ า่ จะเป็นการฟ้องคดี การปอ้ งกัน
ปราบปราบ หรอื การตรวจสอบ ไมอ่ าจสำ� เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ หรอื กระทบถงึ ความปลอดภยั ของบคุ คลหนง่ึ
บุคคลใด หรือการเปิดเผยรายงานการแพทย์ หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลอ่ืนใดท่ีอาจจะกระทบถึงสิทธิ
ส่วนบคุ คลโดยไมส่ มควร เปน็ ต้น
ตัวอย่างของข้อมูลข่าวสารท่ีไม่ต้องเปิดเผย เช่น ข้อมูลอาชญากรที่ส�ำนักงานต�ำรวจ
แห่งชาตจิ ดั เกบ็ เพอื่ ตดิ ตามผู้กระท�ำผดิ มาลงโทษ ขอ้ มูลประวตั ิคนไขท้ โี่ รงพยาบาลจัดเก็บไว้เพอ่ื ใช้ในการ
รกั ษาคนไข้ ขอ้ มลู การถอื หนุ้ ในแตล่ ะบรษิ ทั ทก่ี รมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ จดั เกบ็ ไวเ้ พอื่ ใหผ้ ทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งสามารถ
เขา้ ตรวจดไู ด้ เปน็ ตน้ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลเหลา่ นเี้ ปน็ ขอ้ มลู ทมี่ ลี กั ษณะละเอยี ดออ่ น (sensitive information)
หากเปดิ เผยไปอาจสร้างความเสียหายแก่เจา้ ของข้อมูลได้
1.2.3 หน้าท่ีของหน่วยงานรัฐ ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
พ.ศ. 2540 ไดแ้ ก่ ราชการสว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค สว่ นทอ้ งถน่ิ รฐั วสิ าหกจิ สว่ นราชการสงั กดั รฐั สภา ศาล
เฉพาะในส่วนท่ไี มเ่ กยี่ วกบั การพจิ ารณาพพิ ากษาคดี องคก์ รควบคมุ การประกอบวิชาชพี หน่วยงานอสิ ระ
ของรัฐและหน่วยงานอ่ืนตามท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง มีหน้าท่ีท่ีจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติข้อมูล
ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ในการใหบ้ รกิ ารขา่ วสารแกป่ ระชาชน ดงั นี้
1) หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา
ตามทีก่ ฎหมายกำ� หนด
2) หน่วยงานของรัฐต้องจัดพิมพ์หรือจัดให้มีข้อมูลข่าวสารไว้ เพื่อให้ประชาชนเข้า
ตรวจดู นอกเหนอื จากขอ้ มลู ทล่ี งพมิ พใ์ นราชกจิ จานเุ บกษา หรอื ทจ่ี ดั ไวใ้ หป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดหู รอื คน้ ควา้
แลว้
3) หน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีให้ค�ำแนะน�ำในการย่ืนขอข้อมูลข่าวสาร ไม่ว่าข้อมูล
ขา่ วสารนั้นจะอยู่ในความควบคมุ ดแู ลของหนว่ ยงานรฐั ส่วนใดกต็ าม
4) หน่วยงานของรัฐมีหน้าท่ีออกค�ำสั่งไม่ให้เปิดเผยข้อมูลได้ หากข้อมูลข่าวสารท่ี
เปิดเผยไปแลว้ อาจกระทบตอ่ ความม่ันคงของประเทศและความปลอดภัยของประชาชน
ท้ังน้ี หากหน่วยงานของรัฐไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ในการให้บริการข้อมูลข่าวสารแก่
ประชาชนตามพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการฯ ผทู้ ไี่ ดย้ น่ื คำ� ขอรบั ขอ้ มลู ขา่ วสารมสี ทิ ธริ อ้ งเรยี น
และอุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการไดต้ ามท่พี ระราชบญั ญัตฉิ บับนี้ไดก้ �ำหนดไว้