Page 26 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 26
15-16 สารสนเทศศาสตรเ์ บอื้ งต้น
องค์การทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาโลก (World Intellectual Property Organization — WIPO)
ได้แบง่ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาออกเปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
ประเภทแรก ทรัพยส์ นิ ทางอุตสาหกรรม (industrial property) หมายถึง ความคิดสรา้ งสรรค์
ของมนษุ ยท์ เี่ กยี่ วกบั สนิ คา้ อตุ สาหกรรมตา่ งๆ ความคดิ สรา้ งสรรคน์ อี้ าจเปน็ ความคดิ ในการประดษิ ฐค์ ดิ คน้
ซง่ึ อาจเปน็ กระบวนการหรอื เทคนคิ ในการผลติ ทไี่ ดป้ รบั ปรงุ หรอื คดิ คน้ ขนึ้ ใหม่ หรอื การออกแบบผลติ ภณั ฑ์
ทางอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบและรปู รา่ งของตวั ผลติ ภณั ฑ์ นอกจากน้ี ยงั รวมถงึ เครอ่ื งหมายการคา้
หรือยี่ห้อ ช่ือและถ่ินที่อยู่ทางการค้า รวมถึงแหล่งก�ำเนิดและการป้องกันการแข่งขันทางการค้าท่ีไม่เป็น
ธรรม ได้แก่ สิทธิบตั ร (patent) แบบผังภมู ิของวงจรรวม (layout – design of integrated circuit)
เครื่องหมายการค้า (trademark) ความลับทางการค้า (trade secret) ส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (geo-
graphical indication)
ประเภทท่ีสอง ลขิ สิทธ์ิ (copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ต่เพยี งผู้เดยี วของผสู้ รา้ งสรรค์ทีจ่ ะกระท�ำ
การใดๆ เกยี่ วกบั งานทผ่ี สู้ รา้ งสรรคไ์ ดท้ ำ� ขนึ้ ตามประเภทลขิ สทิ ธท์ิ กี่ ฎหมายกำ� หนด ไดแ้ ก่ งานวรรณกรรม
นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ สงิ่ บันทกึ เสยี ง งานแพรเ่ สียงแพร่ภาพ หรือ
งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ไม่ว่างานดังกล่าวจะแสดงออกโดยวิธี
หรือรูปแบบอย่างใดๆ นอกจากนั้น กฎหมายลิขสิทธิ์ยังให้ความคุ้มครองถึงสิทธิของนักแสดงด้วย
การคมุ้ ครองลขิ สทิ ธไิ์ มค่ รอบคลมุ ถงึ ความคดิ หรอื ขนั้ ตอน กรรมวธิ หี รอื ระบบหรอื วธิ ใี ชห้ รอื วธิ ที ำ� งาน หรอื
แนวความคดิ หลกั การ การค้นพบ หรือทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร์ (ไชยยศ เหมรชั ตะ, 2560)
ปัจจบุ นั กฎหมายทรัพยส์ ินทางปญั ญาที่บงั คับใชใ้ นประเทศไทยมดี ้วยกันหลายฉบับ ได้แก่
1) พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธิ์ พ.ศ. 2537 แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธิ์ (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับ 3) พ.ศ. 2558 เป็นกฎหมายท่ีให้ความคุ้มครองสิทธิแต่
เพียงผู้เดียวของผู้สร้างสรรค์ที่จะกระท�ำการใดๆ เก่ียวกับงานท่ีผู้สร้างสรรค์ได้ท�ำขึ้นตามประเภทลิขสิทธ์ิ
ทกี่ ฎหมายกำ� หนด ได้แก่ งานวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรกี รรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์
สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอ่ืนใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนก
ศลิ ปะ
2) พระราชบัญญตั ิสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตสิ ทิ ธิบัตร (ฉบบั
ที่ 2) พ.ศ. 2535 และพระราชบญั ญตั ิสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 เป็นกฎหมายท่ีให้ความคุ้มครอง
การประดิษฐ์ (invention) หรือการออกแบบผลิตภณั ฑ์ (industrial design) ทีม่ ีลกั ษณะตามทก่ี ฎหมาย
กำ� หนด โดยผทู้ รงสทิ ธมิ สี ทิ ธเิ ดด็ ขาดหรอื สทิ ธแิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี วในการแสวงหาผลประโยชนจ์ ากการประดษิ ฐ์
หรอื การออกแบบผลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดร้ บั สทิ ธบิ ตั รหรอื อนสุ ทิ ธบิ ตั รนนั้ ภายในระยะเวลาตามทก่ี ฎหมายกำ� หนด
3) พระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
เคร่อื งหมายการคา้ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2543 เป็นกฎหมายทีใ่ หค้ วามคุ้มครองแกเ่ ครื่องหมาย สญั ลกั ษณ์
หรอื ตรา ทใ่ี ชก้ ับสินค้าหรือบริการ