Page 30 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 30
15-20 สารสนเทศศาสตรเ์ บือ้ งต้น
พระราชบัญญตั ลิ ขิ สิทธิ์ พ.ศ. 2537 ไดถ้ ูกแกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ลิ ิขสทิ ธิ์ (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2558 ซงึ่ มผี ลบงั คับใชเ้ มอ่ื วนั ที่ 4 สงิ หาคม 2558 โดยกำ� หนดขอ้ ยกเวน้ การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ (Frist
Sale Doctrine) เพม่ิ เตมิ จากฉบับเดมิ อกี 2 กรณี คอื
กรณแี รก ยกเวน้ ใหผ้ ทู้ ไี่ ดก้ รรมสทิ ธใ์ิ นตน้ ฉบบั หรอื สำ� เนางานอนั มลี ขิ สทิ ธม์ิ าโดยชอบดว้ ยกฎหมาย
สามารถจำ� หนา่ ยตน้ ฉบบั หรอื สำ� เนางานนนั้ ไดต้ ามหลกั กรรมสทิ ธ์ิ โดยไมถ่ อื วา่ เปน็ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ เชน่
ซอื้ หนงั สอื คมู่ อื เตรยี มสอบมาอา่ น หลงั จากสอบเสรจ็ นำ� หนงั สอื ไปขายตอ่ จะไมถ่ อื วา่ เปน็ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์
ของผแู้ ต่ง
กรณีที่สอง ข้อยกเว้นในการท�ำซํ้าที่จ�ำเป็นในการน�ำส�ำเนามาใช้ เพ่ือให้อุปกรณ์ที่ใช้ในระบบ
คอมพิวเตอร์หรือกระบวนการส่งงานทางระบบคอมพิวเตอร์สามารถท�ำงานได้ปกติ ไม่ถือเป็นการละเมิด
ลขิ สทิ ธิ์ เชน่ ซอื้ เพลงผา่ น iTunes เมอื่ จะเปดิ ฟงั ตอ้ งมกี ารดาวนโ์ หลดไฟลม์ าเกบ็ ไวใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์
แมว้ ่าจะมีลกั ษณะเปน็ การทำ� สำ� เนา จะไม่ถอื เป็นการละเมิดลิขสทิ ธ์ิ
ตอ่ มา ไดม้ กี ารแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 โดยพระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ (ฉบบั
ท่ี 3) พ.ศ. 2558 ซงึ่ มผี ลบงั คบั ใชเ้ มอื่ วนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2558 โดยเพมิ่ หลกั เกณฑเ์ กย่ี วกบั การละเมดิ
ลิขสิทธ์ิไว้ ดังน้ี
กรณีแรก การท�ำซ้ํา (camcording) โดยการบันทึกเสียงหรือภาพจากภาพยนตร์อันมีลิขสิทธิ์
โดยไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ในระหว่างการฉายภาพยนตร์ ให้ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ และ
ห้ามไม่ให้อาศยั ข้อยกเวน้ การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ใิ นเรอื่ งการทำ� ซ้ําเพื่อประโยชน์ของตวั เองด้วย
กรณีท่ีสอง ข้อยกเว้นในการท�ำซํ้าหรือดัดแปลงเพื่อประโยชน์ของคนพิการ ให้มีการอนุญาต
การทำ� ซาํ้ หรอื ดดั แปลงงานอนั มลี ขิ สทิ ธิ์ เพอื่ ประโยชนข์ องคนพกิ ารทไ่ี มส่ ามารถเขา้ ถงึ งานอนั มลี ขิ สทิ ธไ์ิ ด้
จากความบกพร่องทางการไดย้ ิน เห็น สตปิ ญั ญา หรือการเรยี นรู้ และความบกพร่องอนื่ ๆ ที่ก�ำหนดไว้ใน
พระราชกฤษฎีกา และการทำ� ซํา้ จะต้องไมเ่ ป็นการกระท�ำที่หาก�ำไร
2.2 พระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 เครื่องหมายการค้าตามพระราชบัญญัติ
เครอื่ งหมายการคา้ พ.ศ. 2534 มผี ลบงั คบั ใชเ้ มอ่ื วนั ที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2534 หมายความถงึ เครอ่ื งหมาย
ท่ีใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมายเก่ียวข้องกับสินค้า เพื่อแสดงว่าสินค้าท่ีใช้เคร่ืองหมายของเจ้าของ
เครื่องหมายการค้าน้ัน แตกต่างกับสินค้าที่ใช้เคร่ืองหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด
ภาพประดิษฐ์ ตรา ช่ือ ฯลฯ ตวั อยา่ งเช่น น้าํ ด่มื ปาริชาต Starbucks และ Apple เปน็ ต้น
เครอ่ื งหมายการคา้ ทขี่ อจดทะเบยี นไดจ้ ะตอ้ งมคี ุณสมบัติตามพระราชบญั ญตั เิ ครอ่ื งหมายการคา้ ฯ
ซงึ่ ก�ำหนดไว้ท้งั 3 ประการคือ
1) เปน็ เครอ่ื งหมายการค้าท่ีมีลกั ษณะบ่งเฉพาะ
คณุ สมบตั ทิ สี่ ำ� คญั ของเครอื่ งหมายการคา้ คอื เครอ่ื งหมายการคา้ นน้ั ตอ้ งเปน็ เครอื่ งหมายการคา้
ท่ีมีลักษณะบ่งเฉพาะ (distinctive) กล่าวคือ ต้องเป็นเคร่ืองหมายการค้าอันมีลักษณะท่ีท�ำให้ประชาชน
หรือผทู้ ่ใี ชส้ ินค้านั้นทราบและเขา้ ใจว่า สินคา้ ทใ่ี ช้เคร่ืองหมายการคา้ นัน้ แตกตา่ งไปจากสนิ ค้าอน่ื