Page 33 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 33

กฎหมายและจรยิ ธรรมสารสนเทศ 15-23
       ตัวอย่างที่สอง บริษัทโทรศัพท์เคล่ือนที่แห่งหนึ่งได้สร้างโปรแกรมประยุกต์ (application)
ทส่ี ามารถตอบคำ� ถามได้ โดยใชว้ ธิ กี ารซบั ซอ้ นในการสบื คน้ จากฐานขอ้ มลู ตา่ งๆ และไดน้ ำ� ไปจดสทิ ธบิ ตั ร
ตามกฎหมาย ต่อมามบี รษิ ทั อืน่ ไดผ้ ลติ โปรแกรมประยุกตท์ ่ีเหมือนกนั ถอื วา่ ละเมิดสทิ ธิบตั ร
       จากที่กลา่ วมาข้างตน้ จะเหน็ ไดว้ ่ากฎหมายทรัพย์สินทางปญั ญาทง้ั 3 ประเภท เป็นกฎหมายที่
มคี วามส�ำคญั เป็นอย่างมาก ทั้งนี้ เน่ืองจากในปัจจุบนั การน�ำเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้งานในดา้ นต่างๆ
ย่อมเส่ียงต่อการถูกล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาได้ง่าย เช่น การดาวน์โหลดเพลง การน�ำผลงานทาง
วชิ าการของผอู้ นื่ ไปใชง้ าน การลกั ลอบใชเ้ ครอ่ื งหมายการคา้ ของผอู้ นื่ หากวา่ ไมไ่ ดค้ วามยนิ ยอมจากเจา้ ของ
ทรัพย์สินทางปญั ญา ถือวา่ เปน็ การละเมิดทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาทง้ั ส้นิ

กิจกรรม 15.1.2
       1. 	การกระท�ำอันเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 แบ่งออกเป็น

กีป่ ระเภท อะไรบา้ ง
       2. 	ค�ำวา่ “เคร่อื งหมายการคา้ ” ตามพระราชบัญญัตเิ คร่อื งหมายการค้า พ.ศ. 2534 คืออะไร
       3. 	การประดิษฐ์ที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 จะต้องมี

คณุ สมบัติแบบใด
แนวตอบกิจกรรม 15.1.2

       1. 	การกระท�ำอันเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 แบ่งออกได้
3 ประเภท ดังนี้

            1.1		การท�ำซํ้า เป็นการคัดลอกหรือท�ำส�ำเนาผลงาน รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์จาก
ส่ือบันทึกใด ไม่ว่าด้วยวิธใี ดๆ ในสว่ นอนั เปน็ สาระส�ำคญั โดยไม่มลี กั ษณะเป็นการจดั ท�ำงานขน้ึ ใหม่ ทั้งน้ี
ไม่ว่าท้งั หมดหรอื บางสว่ น

            1.2	 การดัดแปลง เป็นการท�ำซ้ําโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม หรือจ�ำลอง
งานตน้ ฉบบั ในส่วนอนั เปน็ สาระสำ� คญั โดยไมม่ ลี กั ษณะเป็นการจดั ท�ำงานขน้ึ ใหม่ ท้ังน้ี ไม่วา่ ทั้งหมดหรอื
บางส่วน

            1.3	 การเผยแพร่ต่อสาธารณชน เป็นการท�ำให้ปรากฏต่อสาธารณชน โดยการแสดง การ
บรรยาย การสวด การบรรเลง การท�ำให้ปรากฏดว้ ยเสียงและ/หรือภาพ การก่อสรา้ ง การจ�ำหน่าย หรอื
โดยวิธีอื่นใด ซึง่ งานทีจ่ ดั ทำ� ข้นึ

       2. 	เคร่ืองหมายการค้า คือ เคร่ืองหมายที่ใช้หรือจะใช้เป็นเครื่องหมายเก่ียวข้องกับสินค้า เพื่อ
แสดงวา่ สนิ คา้ ทใ่ี ชเ้ ครอื่ งหมายของเจา้ ของเครอ่ื งหมายการคา้ นนั้ แตกตา่ งกบั สนิ คา้ ทใี่ ชเ้ ครอื่ งหมายการคา้
ของบุคคลอนื่ เชน่ ภาพถ่าย ภาพวาด ภาพประดิษฐ์ ตรา ช่อื ฯลฯ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38