Page 36 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 36
15-26 สารสนเทศศาสตร์เบ้อื งต้น
เรื่องที่ 15.2.1
กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
พฒั นาการทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สง่ ผลใหม้ กี ารนำ� คอมพวิ เตอรม์ าประยกุ ต์
ในการจดั การสารสนเทศอยา่ งกวา้ งขวาง ตง้ั แตก่ ารผลติ การจดั เกบ็ การประมวลผล ไปจนถงึ การเผยแพร่
และน�ำข้อมูลไปใช้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อการบังคับใช้กฎหมายหลายด้านด้วยกัน จึงจ�ำเป็น
ตอ้ งมกี ฎหมายเกย่ี วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศขน้ึ เพอื่ คมุ้ ครองขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซง่ึ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศทม่ี ผี ลใชบ้ งั คบั ในปจั จบุ นั ประกอบดว้ ย พระราชบญั ญตั ธิ รุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
พ.ศ. 2544 พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชกฤษฎกี า
วา่ ดว้ ยการควบคมุ ดแู ลธรุ กจิ บรกิ ารการชำ� ระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พ.ศ. 2551 และกฎหมายลำ� ดบั รองอนื่ ๆ
ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
1. ความเป็นมาและความส�ำคัญของกฎหมายเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศเกดิ ข้ึนสบื เนอื่ งเมอื่ พ.ศ. 2539 คณะรัฐมนตรไี ด้มมี ตเิ หน็ ชอบตอ่
นโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรอื ทเี่ รยี กวา่ ไอที 2000 ตามทเ่ี สนอโดยกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ พฒั นาสงั คมและเสรมิ สรา้ งความแขง็ แกรง่ ทางธรุ กจิ อตุ สาหกรรม และการคา้ ระหวา่ ง
ประเทศในการก้าวสู่สังคมสารสนเทศ โดยหนึ่งในมาตรการท่ีส�ำคัญคือ การปฏิรูปกฎหมายเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยไดม้ อบหมายใหค้ ณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ เปน็ ศนู ยก์ ลางในการดำ� เนนิ การ
และประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่ก�ำลังด�ำเนินการจัดท�ำกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
กฎหมายอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือเนคเทค
สำ� นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ ทำ� หนา้ ที่เป็นเลขานุการของคณะกรรมการฯ
แตเ่ ดมิ กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศแบ่งออกเปน็ 6 ฉบับ ประกอบดว้ ย กฎหมายธรุ กรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และกฎหมายล�ำดับรองของ
รัฐธรรมนญู มาตรา 78 ว่าด้วยการเข้าถึงโครงสรา้ งพนื้ ฐานสารสนเทศอย่างท่วั ถึงและเท่าเทียมกนั (ซ่งึ ใด้
ถูกยกเลิกไปโดยรัฐธรรมนูญ) อันเป็นกฎหมายความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันอย่างใกล้ชิด เพราะเป็นการ
ยอมรับสถานะของข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ให้มสี ถานะและผลทางกฎหมายเช่นเดียวกบั เอกสารลายลักษณ์-
อักษร การรับรองลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูล และการป้องกัน
อาชญากรรมในรูปแบบใหม่ท่ีอาจจะเกิดขึ้น เพ่ือให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการโอนเงินหรือการช�ำระเงินทาง
อเิ ลก็ ทรอนกิ สน์ นั้ มคี วามปลอดภยั และจำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทต่ี อ้ งมกี ารใหค้ วามคมุ้ ครอง เพอ่ื ไมใ่ หม้ กี ารนำ� ขอ้ มลู
ส่วนบคุ คลไปใชใ้ นทางทีม่ ชิ อบ รวมท้ังเปน็ การเตรยี มความพร้อมให้แก่ประเทศไทยในการกา้ วเข้าส่สู งั คม
สารสนเทศ