Page 32 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 32

15-22 สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
แพร่หลายทั่วไป (well-known mark) ให้ชัดเจนขึ้น โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ีรัฐมนตรีประกาศ
ก�ำหนด

       2.3		พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522
       สิทธิบัตร หมายถงึ สทิ ธพิ เิ ศษทกี่ ฎหมายบญั ญตั ใิ หเ้ จา้ ของสทิ ธบิ ตั ร มสี ทิ ธแิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี วในการ
แสวงหาประโยชน์จากการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีได้รับสิทธิบัตรนั้น เช่น การผลิตและ
จำ� หนา่ ย เปน็ ตน้
       ประเทศไทยได้ให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2522 โดยได้มีการออกพระราช
บัญญตั สิ ิทธบิ ตั ร พ.ศ. 2522 ขนึ้ ซงึ่ มผี ลบังคบั ใช้เมื่อวนั ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2522 ตอ่ มาได้มกี ารแกไ้ ข
อีก 2 ครง้ั ใน พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2542 กฎหมายฉบับนีไ้ ด้ใหค้ วามคมุ้ ครองแกเ่ ทคโนโลยกี ารประดิษฐ์
และการออกแบบทางอุตสาหกรรม
       การประดิษฐ์ (invention) ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตรฯ หมายความว่า “การคิดค้นหรือคิด
ทำ� ขน้ึ อนั เปน็ ผลใหไ้ ดม้ าซง่ึ ผลติ ภณั ฑห์ รอื กรรมวธิ ใี ดขน้ึ ใหม่ หรอื การกระทำ� ใดๆ ทที่ ำ� ใหด้ ขี น้ึ ซง่ึ ผลติ ภณั ฑ์
หรอื กรรมวธิ ”ี โดยการประดษิ ฐท์ ไ่ี ดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมายสทิ ธบิ ตั รตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิ 3 ประการ คอื

            1)	 เปน็ การประดิษฐ์ขึน้ ใหม่ (novelty)
            2)	มขี ั้นการประดษิ ฐ์ทสี่ งู ข้ึน (novelty step)
            3)	สามารถประยุกต์ในทางอตุ สาหกรรมได้ (industrial applicability)
       ถา้ การประดษิ ฐใ์ ดขาดคณุ สมบตั ปิ ระการใดประการหนง่ึ ในสามประการแลว้ เชน่ เปน็ การประดษิ ฐ์
ที่ขาดความใหม่ เนื่องจากมีการน�ำไปเปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว หรือการประดิษฐ์น้ันไม่สามารถน�ำมา
ประยุกตใ์ ชง้ านในทางอุตสาหกรรมได้จรงิ การประดษิ ฐน์ ้ันยอ่ มไม่ได้รบั ความคุ้มครองตามกฎหมาย
       ส่วนการออกแบบทางอุตสาหกรรม (industrial design) หมายความถึง ลักษณะภายนอกของ
ผลติ ภณั ฑ์ อนั ไดแ้ ก่ รปู รา่ ง ลวดลาย หรอื สี ทอี่ าจใชเ้ ปน็ แบบสำ� หรบั ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมและหตั ถกรรมได้
การออกแบบทางอุตสาหกรรมจะไม่เกี่ยวข้องกับการท�ำงานของวัตถุ แต่เป็นเรื่องรูปร่างลักษณะของ
สงิ่ ดงั กลา่ ว ซงึ่ การออกแบบทางอตุ สาหกรรมทอี่ าจไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามกฎหมาย ตอ้ งเปน็ การออกแบบ
ทางอุตสาหกรรมท่ีมีความใหม่เทา่ นั้น
       ผู้ท่ีเป็นเจ้าของสิทธิบัตร เป็นผู้ทรงสิทธิเด็ดขาด (exclusive right) ที่จะใช้ประโยชน์จากการ
ประดิษฐ์หรือแบบผลิตภัณฑ์นั้นแต่เพียงผู้เดียว หากบุคคลใดน�ำเอาการประดิษฐ์หรือแบบผลิตภัณฑ์นั้น
ไปใชโ้ ดยมไิ ด้รบั ความยนิ ยอมจากเจ้าของสิทธิบัตร ย่อมถือว่าบุคคลนั้นกระท�ำละเมดิ ซึ่งระยะเวลาในการ
คมุ้ ครองสทิ ธบิ ตั รตามกฎหมายสำ� หรบั สทิ ธบิ ตั รการประดษิ ฐม์ กี ำ� หนดระยะเวลา 20 ปี และสทิ ธบิ ตั รสำ� หรบั
การออกแบบผลติ ภัณฑม์ ีก�ำหนดระยะเวลา 10 ปี
       ตัวอย่างของการละเมิดสิทธิบัตร ไดแ้ ก่
       ตัวอย่างแรก บรษิ ัทเกมคอมพิวเตอร์แหง่ หนงึ่ ได้คดิ ค้น และผลิตเกมใหมส่ �ำหรับเลน่ บนอุปกรณ์
พกพา รวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ และได้น�ำการประดิษฐ์ดังกล่าวไปจดสิทธิบัตรถูกต้องตามกฎหมาย
ต่อมามบี รษิ ัทอนื่ ไดผ้ ลติ เกมทเี่ หมอื นกัน ซ่งึ ตามกฎหมายแล้วบรษิ ทั อ่ืนที่ผลติ เกมข้นึ มาเลียนแบบ ถือวา่
ละเมิดสทิ ธิบตั ร
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37