Page 37 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 37

กฎหมายและจรยิ ธรรมสารสนเทศ 15-27
       ใน พ.ศ. 2544 ได้มีการประกาศใช้พระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
ซงึ่ มีผลบังคบั ใชเ้ มื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2545 เปน็ ต้นมา กฎหมายฉบบั นี้ไดร้ วมกฎหมายทั้งในสว่ น
ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละลายมอื ชอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ขา้ ไวเ้ ปน็ ฉบบั เดยี วกนั เนอ่ื งจากกฎหมายทง้ั สอง
ส่วนมีเนอ้ื หาสาระทเี่ กีย่ วขอ้ งกัน เพราะวธิ ีการรบั รองลายมือช่ืออิเล็กทรอนกิ ส์น้ันกเ็ พือ่ ให้การท�ำธุรกรรม
มีความน่าเชื่อถือ และได้เพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจบริการเก่ียวกับธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ และคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย ซึ่งภายหลังได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 โดยแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ บทบญั ญัตทิ ่ี
เกยี่ วกบั เอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซง่ึ กำ� หนดไวว้ า่ เอกสารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมถงึ สง่ิ พมิ พอ์ อก (print-out)
สามารถใช้เป็นต้นฉบับได้ ตัวอย่างเช่น เอกสารท่ีได้มาจากการสแกน (scan) เก็บในรูปไฟล์ดิจิทัล
(digital format) สามารถนำ� มาใชเ้ ป็นตน้ ฉบบั ทใี่ ช้อ้างอิงเปน็ พยานหลักฐานในศาลได้
       ต่อมา ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช�ำระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 ซ่ึงเป็นกฎหมายล�ำดับรองตามความในพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง
อเิ ลก็ ทรอนกิ สฯ์ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กำ� กบั ดแู ลธรุ กจิ บรกิ ารเกยี่ วกบั การช�ำระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซงึ่
เป็นธุรกิจที่ต้องใช้เทคโนโลยีที่มีความซับซ้อนหลากหลาย และเป็นธุรกิจที่มีมูลค่าโดยรวมทางเศรษฐกิจ
ค่อนข้างสูง หากแต่ผู้ประกอบธุรกิจบริการบางส่วนยังมิได้อยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของหน่วยงานใด
จึงอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางการเงินและการพาณิชย์ได้ และเพื่อเป็นการบูรณาการกฎหมายท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กจิ บรกิ ารเกยี่ วกบั การช�ำระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หเ้ ปน็ ฉบบั เดยี วกนั โดยมปี ระกาศทอี่ อก
       ใน พ.ศ. 2550 ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์
พ.ศ. 2550 ซงึ่ มีผลบงั คับใชเ้ ม่อื วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2550 โดยกฎหมายน้ไี ด้กำ� หนดฐานความผิดที่
เก่ียวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละบทลงโทษ รวมถึงอำ� นาจหน้าที่ของพนักงานเจา้ หน้าทีท่ ่มี ีอำ� นาจในการสืบสวน
สอบสวนความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี นอกเหนอื จากเจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา
ความอาญา (คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ, 2544, น. 15-16) โดยมีการออกประกาศ
กระทรวง ซ่ึงเป็นกฎหมายล�ำดับรองตามความในพระราชบัญญัตินี้หลายฉบับ ประกอบด้วย ประกาศ
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอร์
ของผู้ให้บริการ พ.ศ. 2550 ซึ่งต่อมาพระราชบัญญัติน้ีได้ถูกแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วย
การกระทำ� ความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 ซ่งึ มกี ารแก้ไขบทบัญญัติเกีย่ วกบั ความ
ผดิ ในพระราชบญั ญตั ิเดมิ เช่น ความผดิ เก่ียวกับสแปมเมล ความผดิ เกยี่ วกับการฉ้อโกงทางคอมพวิ เตอร์
หรือฟิชชิ่ง (Phishing) รวมถึงความรับผิดของผู้ให้บริการ และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการระงับการท�ำให้
แพรห่ ลายของขอ้ มลู คอมพวิ เตอรท์ ไี่ มเ่ หมาะสม โดยการตราประกาศกระทรวงฯ เพม่ิ ขนึ้ 3 ฉบบั ประกอบดว้ ย
ประกาศกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม เรอ่ื ง ขนั้ ตอนการแจง้ เตอื น การระงบั การทาํ ใหแ้ พรห่ ลาย
ของข้อมูลคอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์ออกจากระบบคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ประกาศ
กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกล่ันกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2560 และประกาศ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42