Page 39 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 39

กฎหมายและจรยิ ธรรมสารสนเทศ 15-29

2.	 กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

       พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 นับเป็นกฎหมายเทคโนโลยี
สารสนเทศฉบับแรกท่ีใช้บังคับในการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัตินี้
สืบเน่ืองจากการท�ำธุรกรรมในปัจจุบัน มีแนวโน้มที่จะปรับเปล่ียนวิธีการในการติดต่อส่ือสารที่อาศัย
พฒั นาการเทคโนโลยที างอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซง่ึ มคี วามสะดวก รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ แตเ่ นอื่ งจากการทำ�
ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ งั กลา่ ว มคี วามแตกตา่ งจากวธิ กี ารทำ� ธรุ กรรมซง่ึ มกี ฎหมายรองรบั อยใู่ นปจั จบุ นั
เปน็ อย่างมาก อนั ส่งผลใหต้ ้องมกี ารรองรบั สถานะทางกฎหมายของขอ้ มลู ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ให้เสมอกบั
การทำ� เปน็ หนงั สอื หรอื หลกั ฐานเปน็ หนงั สอื การรบั รองวธิ กี ารสง่ และรบั ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การใชล้ ายมอื
ชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการรับฟังพยานหลักฐานท่ีเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเป็นการส่งเสริม
การท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้น่าเชื่อถือ และมีผลในทางกฎหมายเช่นเดียวกับการท�ำธุรกรรม
โดยวิธีการทั่วไปที่เคยปฏิบัติอยู่เดิม ควรก�ำหนดให้มีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ท�ำหน้าที่
วางนโยบายก�ำหนดหลักเกณฑ์เพ่ือส่งเสริมการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ติดตามดูแลการประกอบ
ธุรกิจเกยี่ วกับธรุ กรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รวมทงั้ มหี น้าท่ีในการสง่ เสริมการพฒั นาการทางเทคโนโลยเี พือ่
ติดตามความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี ซง่ึ มีการเปลย่ี นแปลงและพฒั นาศกั ยภาพตลอดเวลา ใหม้ มี าตรฐาน
น่าเช่ือถือ ตลอดจนเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคท่ีเก่ียวข้อง อันจะเป็นการส่งเสริมการใช้
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ สท์ ้งั ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ

       ในสว่ นเกีย่ วกบั การทำ� ธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พระราชบญั ญัตวิ ่าด้วยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอ-
นกิ สฯ์ ไดบ้ ญั ญตั ริ บั รองการทำ� ธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ งั้ ภาครฐั และภาคเอกชน ไมว่ า่ จะเปน็ การตดิ ตอ่
ส่ือสารกันบนเครือข่ายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื การทำ� ธรุ กรรมดว้ ยวธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ นื่ ๆ เชน่ โทรพมิ พ์ โทรเลข หรอื โทรสาร
เหตุผลในการออกกฎหมายฉบับน้ีคือเพ่ือคุ้มครองการท�ำธุรกรรมที่กระท�ำข้ึนโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้เน่ืองจากการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์มีจ�ำนวนเพ่ิมสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็น
ผลมาจากพฒั นาการทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซงึ่ มคี วามสะดวก รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหร้ ปู แบบ
ของการท�ำธุรกรรมในปัจจบุ นั ลว้ นแตท่ �ำอยใู่ นรปู ขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไม่ได้ทำ� ลงบนกระดาษเช่นเดมิ

       พระราชบัญญัติธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ได้ก�ำหนดนิยาม ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่า
หมายถงึ “การกระทำ� ใดๆ ทเี่ กยี่ วกบั กจิ กรรมในทางแพง่ และพาณชิ ย์ หรอื ในการดำ� เนนิ งานของรฐั ทกี่ ระทำ�
ขึ้นโดยใช้วธิ ีการทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ทง้ั หมดหรอื แต่บางส่วน”

       ตัวอย่างการท�ำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่
       ตัวอย่างท่ี 1 กรมสรรพากรไดพ้ ฒั นาระบบการจดั ท�ำและน�ำสง่ ขอ้ มลู ใบกำ� กับภาษอี ิเลก็ ทรอนิกส์
(e-tax invoice) และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ (e-reciept) เพื่อใช้ในการค�ำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม ซ่ึงเป็น
การลดภาระในการจดั เตรยี มเอกสาร และลดตน้ ทนุ ในการจัดทำ� เอกสารในรูปกระดาษ
       ตัวอย่างท่ี 2 การใช้ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ในการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวิธี
การตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั บนอนิ เทอรเ์ นต็ ทเี่ ปน็ มาตรฐานและเกา่ แกท่ สี่ ดุ โดยสามารถสง่ เอกสารทเ่ี ปน็ ขอ้ ความ
ธรรมดา จนถึงการส่งเอกสารแบบมัลติมีเดียท่ีมีทั้งภาพและเสียง ซ่ึงผู้ที่ต้องการส่งและรับไปรษณีย์
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44