Page 44 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 44
15-34 สารสนเทศศาสตร์เบือ้ งตน้
หลักเกณฑ์และวิธีการในการสร้างลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส์ว่าต้องสร้างขึ้นโดยวิธีการที่เช่ือถือได้เท่านั้น
เพื่อเปน็ กลไกในการสรา้ งความเชื่อมั่นในการทำ� ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์
ภาพท่ี 15.6 ลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกส์
ที่มา: http://pcwin.com/Utilities/Multilevel_Digital_Signature_System/screen.htm
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ดังกล่าวมีขอบเขตการบังคับใช้กับ
ธรุ กรรมทว่ั ไปทด่ี ำ� เนนิ การโดยใชข้ อ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ างแพง่ และพาณชิ ย์ และใหใ้ ชบ้ งั คบั แกก่ ารดำ� เนนิ งาน
ของรัฐด้วย เช่น การจดทะเบียน ค�ำส่ังทางปกครอง การช�ำระเงิน การประกาศหรือการด�ำเนินการใดๆ
ตามกฎหมาย ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ พี ระราชกฤษฎกี ากำ� หนดประเภทธรุ กรรมในทางแพง่ และทางพาณชิ ย์ ทยี่ กเวน้
มใิ หน้ ำ� กฎหมายวา่ ดว้ ยธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ าใชบ้ งั คบั พ.ศ. 2549 (ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิ
ธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ ) กำ� หนดธรุ กรรมบางประเภททีถ่ กู ยกเวน้ มิใหน้ ำ� พระราชบัญญัติฉบับนม้ี าใช้
บังคบั อนั ไดแ้ ก่ ธุรกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับครอบครัวและมรดก เชน่ การท�ำพนิ ัยกรรม การจดทะเบยี นสมรส
การจดทะเบยี นรบั รองบตุ ร ทงั้ นี้ เนอื่ งจากเทคโนโลยใี นปจั จบุ นั ยงั ไมเ่ ออื้ อำ� นวยตอ่ การทำ� ธรุ กรรมประเภท
ดงั กลา่ ว รวมทงั้ ธรุ กรรมบางประเภทยงั มคี วามละเอยี ดออ่ นและเกยี่ วพนั กบั ความมนั่ คงของรฐั จงึ ไมส่ มควร
ให้นำ� วธิ กี ารทางอิเล็กทรอนิกสม์ าใช้