Page 41 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 41
กฎหมายและจริยธรรมสารสนเทศ 15-31
มกี ารลงลายมอื ชอื่ แลว้ ถา้ บคุ คลนน้ั ใชว้ ธิ กี ารทสี่ ามารถระบตุ วั เจา้ ของลายมอื ชอื่ ไดแ้ ละสามารถแสดงไดว้ า่
เจ้าของลายมือชื่อน้ันรับรองข้อความในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ว่าเป็นของตน โดยวิธีดังกล่าวจะต้องเป็น
วิธีการท่ีเช่ือถือได้โดยเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสร้างหรือส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยค�ำนึงถึง
พฤตกิ ารณ์แวดลอ้ มหรอื ข้อตกลงของคู่กรณี ตัวอย่างเช่น ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 456
วรรคสองกำ� หนดวา่ สญั ญาซอ้ื ขายสงั หารมิ ทรพั ยซ์ งึ่ ตกลงกนั เปน็ ราคาสองหมน่ื บาทหรอื กวา่ นนั้ ขนึ้ ไปดว้ ย
ถ้ามิไดม้ ีหลักฐานเปน็ หนังสอื อยา่ งหน่งึ อย่างใดลงลายมอื ช่อื ฝ่ายผตู้ ้องรับผดิ เป็นสำ� คญั หรอื ได้วางประจำ�
ไว้หรือได้ช�ำระหนี้บางส่วนแล้ว จะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ หากคู่สัญญาได้ท�ำหลักฐานเป็นหนังสือ
ลงลายมือชื่อคู่สัญญาฝ่ายที่ต้องรับผิดในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและน�ำกลับมาใช้ได้
โดยความหมายไมเ่ ปลยี่ นแปลง ให้ถือวา่ ขอ้ ความนนั้ มหี ลกั ฐานเป็นหนงั สอื มาแสดงแลว้
2) ในกรณที ก่ี ฎหมายก�ำหนดใหน้ �ำเสนอหรอื เกบ็ รกั ษาขอ้ ความใดในสภาพทเี่ ปน็ มาแตเ่ ดมิ
อยา่ งเอกสารต้นฉบับ ถ้าได้น�ำเสนอหรอื เกบ็ รกั ษาในรูปขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์ โดยใชว้ ิธกี ารท่เี ชอ่ื ถือได้ใน
การรกั ษาความถกู ตอ้ งของขอ้ ความ ความครบถว้ นและไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงใดๆ ของขอ้ ความ เวน้ แตก่ าร
รบั รองหรอื บนั ทึกเพมิ่ เตมิ หรอื การเปลย่ี นแปลงใดๆ และสามารถท่จี ะแสดงขอ้ ความนัน้ ในภายหลังได้แล้ว
ให้ถือว่าได้มีการน�ำเสนอหรือเก็บรักษาเป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว โดยมีการออกประกาศ
คณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เรอื่ ง การรบั รองสง่ิ พมิ พอ์ อก พ.ศ. 2555 ตามความในพระราช-
บญั ญตั ธิ รุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สฯ์ โดยกำ� หนดหลกั เกณฑส์ ำ� หรบั หนว่ ยงานทม่ี อี ำ� นาจหนา้ ทใี่ นการรบั รอง
ระบบการพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินรับรองสิ่งพิมพ์ออก เพื่อให้
ส่ิงพิมพ์ออกนั้นมีความน่าเชื่อถือและสามารถใช้อ้างอิงแทนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ เพื่อสามารถใช้อ้างอิง
เป็นพยานหลกั ฐานในชั้นศาล
3) ห้ามไม่ให้ปฏิเสธการรับฟังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นพยานหลักฐานในกระบวนการ
พิจารณาตามกฎหมาย เพียงเพราะเหตุว่าเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยการพิเคราะห์ถึงความน่าเช่ือถือ
ของขอ้ มลู ดงั กลา่ ว จะพเิ คราะหถ์ งึ ลกั ษณะหรอื วธิ กี ารทใ่ี ชส้ รา้ ง เกบ็ รกั ษา หรอื สอื่ สารขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ลักษณะหรอื วธิ ีการรกั ษาความครบถว้ นและไมม่ กี ารเปลีย่ นแปลงของข้อความ ลกั ษณะหรอื วธิ กี ารท่ีใช้ใน
การระบหุ รือแสดงตวั ผสู้ ่งขอ้ มลู รวมทั้งพฤติการณ์ทีเ่ กย่ี วข้องทัง้ ปวง เนื่องจากแตเ่ ดมิ ศาลจะรบั ฟงั พยาน
หลกั ฐานที่เป็นตน้ ฉบบั เทา่ นน้ั โดยสง่ิ พิมพ์ออกหรอื print-out จะไม่ถอื เป็นต้นฉบับ
4) คำ� เสนอหรอื คำ� สนองในการทำ� สญั ญาอาจทำ� เปน็ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ ไ็ ด้ โดยการแสดง
เจตนาหรอื คำ� บอกกลา่ วอาจทำ� เปน็ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้ และบคุ คลใดเปน็ ผสู้ ง่ ขอ้ มลู ไมว่ า่ จะเปน็ การสง่
โดยวธิ ีใดใหถ้ ือว่าข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ปน็ ของผนู้ น้ั โดยมีหลักเกณฑ์ในการสง่ หรอื การรับขอ้ มลู ดงั นี้
- ในระหวา่ งผสู้ ง่ ขอ้ มลู และผรู้ บั ขอ้ มลู ใหถ้ อื วา่ เปน็ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องผสู้ ง่ ขอ้ มลู
หากข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์นั้นได้ส่งโดยบุคคลผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทนผู้ส่งข้อมูลเก่ียวกับข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์นั้น หรือระบบข้อมูลท่ีผู้ส่งข้อมูลหรือบุคคลผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทนผู้ส่งข้อมูลได้ก�ำหนด
ไวล้ ว่ งหน้าให้สามารถทำ� งานไดโ้ ดยอัตโนมัติ
- ผู้รับข้อมูลชอบที่จะถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เป็นของผู้ส่งข้อมูล และชอบท่ีจะ
ดำ� เนนิ การไปตามขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สน์ น้ั ได้ ถา้ ผรู้ บั ขอ้ มลู ไดต้ รวจสอบโดยสมควรวา่ ขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์