Page 48 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 48

15-38 สารสนเทศศาสตรเ์ บอื้ งต้น
            10)	การน�ำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประชาชนท่ัวไปอาจเข้าถึงได้ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่

ปรากฏเป็นภาพของผู้อ่ืน และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างข้ึน ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วย
วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอ่ืนใด โดยประการที่น่าจะท�ำให้ผู้อ่ืนนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหม่ิน
ถกู เกลียดชัง หรอื ได้รับความอับอาย

       ตัวอย่างของการกระท�ำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่
       ตวั อยา่ งท่ี 1 ระบบคอมพวิ เตอรข์ องทางราชการไดถ้ กู แฮกเกอรเ์ จาะเขา้ สรู่ ะบบโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต
และมรี หสั ผา่ นเพอ่ื เขา้ สรู่ ะบบคอมพวิ เตอรข์ องหนว่ ยงานราชการอน่ื ๆ ทว่ั ประเทศ ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ความมนั่ คง
ปลอดภัยของข้อมลู และสารสนเทศ
       ตัวอยา่ งที่ 2 การปลอ่ ยซอฟตแ์ วรบ์ างชนดิ ทเี่ ปน็ ไวรสั เพอ่ื ทำ� ลายหรอื แกไ้ ขขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ และ
ท�ำให้การใช้บริการของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องชะงัก เช่น ไวรัสไฟล์ (virus file) ใช้เรียกไวรัสท่ีติดไฟล์
โปรแกรม เชน่ โปรแกรมทด่ี าวน์โหลดจากอินเทอรเ์ นต็ หรือม้าโทรจนั (trojan horse) ซงึ่ เป็นโปรแกรม
ประเภทหน่ึงท่ีถูกออกแบบข้ึน เพื่อแอบแฝงกระท�ำการบางอย่างในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยท่ีเจ้าของ
คอมพิวเตอร์นัน้ รับมาโดยไมร่ ตู้ วั
       ตัวอย่างท่ี 3 การใชร้ ะบบคอมพิวเตอรเ์ พื่อเผยแพร่ขอ้ มูลคอมพิวเตอรอ์ ันเป็นเท็จ หรือมลี กั ษณะ
ลามกอนาจาร เช่น การตัดต่อภาพของผู้อื่นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ แล้วน�ำไปเผยแพร่บน
อินเทอรเ์ นต็ การหลอกลวงขายสินค้าหรอื บริการบนเว็บไซต์ หรือการเผยแพรข่ ้อมลู ขา่ วสารในลักษณะท่ี
กระทบตอ่ ความมนั่ คงของประเทศ เป็นตน้
       นอกจากนี้ยังได้มีการออกกฎหมายล�ำดับรอง เพื่อก�ำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการปฏิบัติเก่ียวกับ
เร่ืองดังกล่าว ตามความในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�ำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
และฉบับแก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 ซงึ่ มดี ังน้ี

            ประกาศกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เร่ืองหลักเกณฑ์การเก็บรักษา
ขอ้ มลู จราจรทางคอมพวิ เตอรข์ องผใู้ หบ้ รกิ าร พ.ศ. 2550 เปน็ กฎหมายทอี่ อกตามความในพระราชบญั ญตั ิ
วา่ ดว้ ยการกระทำ� ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 ภาระหนา้ ทขี่ องผใู้ หบ้ รกิ ารในการจดั เกบ็ รกั ษา
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยว่า 90 วันนับต้ังแต่ที่ข้อมูลนั้นได้เข้าสู่ระบบ เพื่อเป็นพยาน
หลกั ฐานในการสบื สวนสอบสวนและตดิ ตามผกู้ ระทำ� ผดิ มาลงโทษ โดยกำ� หนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการ
จัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ในประกาศกระทรวงฯ โดยก�ำหนดนิยามข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ วา่ หมายถงึ “ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การตดิ ตอ่ สอื่ สารของระบบคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ แสดงถงึ แหลง่ กำ� เนดิ
ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปรมิ าณ ระยะเวลาชนดิ ของบริการ หรืออนื่ ๆ ที่เกย่ี วข้องกบั การ
ติดต่อส่อื สารของระบบคอมพวิ เตอร์นั้น ซงึ่ ข้อมูลจราจรคอมพวิ เตอรท์ สี่ �ำคัญคอื หมายเลขไอพี (Internet
Protocol Address - IP Address) ที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายจะมีหมายเลขรหัส
ประจ�ำเครือ่ ง และคอมพวิ เตอรแ์ ต่ละเครอ่ื งทั่วโลกจะมหี มายเลขทีไ่ ม่ซ้ํากนั ” ทั้งนี้ ประกาศกระทรวงฯ ได้
ก�ำหนดประเภทของผู้ใหบ้ รกิ ารซ่ึงมหี น้าท่ีตอ้ งเก็บรักษาขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอรไ์ วส้ องประเภท คอื
ผู้ให้บริการแก่บุคคลทั่วไปในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต เช่น ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมและการกระจาย
ภาพและเสียง (telecommunication and broadcast carrier) ผู้ให้บริการการเข้าถึงระบบเครือข่าย
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53