Page 52 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 52
15-42 สารสนเทศศาสตรเ์ บื้องตน้
7) ธรุ กจิ บรกิ ารรบั ชำ� ระเงนิ แทน และ
8) ธรุ กิจการชำ� ระเงินทางอิเล็กทรอนกิ ส์ผา่ นอปุ กรณ์อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงหรอื ผ่านเครือข่าย
ธุรกิจบริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ตามท่ีพระราชบัญญัตินี้ระบุไว้จะต้องปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ที่กฎหมายก�ำหนด กล่าวคือ ผู้ให้บริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์มีหน้าท่ีจะต้องแจ้ง
ใหท้ ราบ หรอื ขอขน้ึ ทะเบยี น หรอื ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากคณะกรรมการธรุ กรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สก์ อ่ นการ
ให้บรกิ าร โดยสรปุ ได้ 3 ประเภทบัญชี ดังนี้
บัญชี ก: ธุรกิจบริการที่ต้องแจ้งให้ทราบก่อนให้บริการ
การให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ท่ีใช้ซื้อสินค้าหรือรับบริการเฉพาะอย่างตามรายการที่ก�ำหนดไว้
ลว่ งหนา้ จากผใู้ หบ้ รกิ ารเพียงรายเดยี ว ทั้งนี้ เวน้ แตก่ ารใหบ้ ริการเงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทใี่ ชจ้ �ำกดั เพอ่ื อ�ำนวย
ความสะดวกแก่ผบู้ รโิ ภค โดยมไิ ดแ้ สวงหาก�ำไรจากการออกบัตร ตามท่ธี นาคารแห่งประเทศไทยประกาศ
ก�ำหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
บัญชี ข: ธุรกิจบริการที่ต้องขอข้ึนทะเบียนก่อนให้บริการ
1) การให้บริการเครือข่ายบัตรเครดิต
2) การให้บรกิ ารเครอื ข่ายอีดซี ี
3) การให้บรกิ ารสวติ ช์ชิ่งในการช�ำระเงนิ ระบบหนง่ึ ระบบใด
4) การใหบ้ รกิ ารเงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ใี่ ชซ้ อื้ สนิ คา้ และหรอื รบั บรกิ ารเฉพาะอยา่ งตามรายการ
ทกี่ ำ� หนดไวล้ ว่ งหนา้ จากผใู้ หบ้ รกิ ารหลายราย ณ สถานทที่ อี่ ยภู่ ายใตร้ ะบบการจดั จำ� หนา่ ยและการใหบ้ รกิ าร
เดยี วกัน
บัญชี ค: ธุรกิจบริการที่ต้องได้รับอนุญาตก่อนให้บริการ
1) การให้บริการหักบัญชี
2) การใหบ้ ริการชำ� ระดุล
3) การให้บริการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์อย่างหน่ึงอย่างใดหรือผ่านทาง
เครอื ข่าย
4) การใหบ้ ริการสวิตช์ช่ิงในการช�ำระเงินหลายระบบ
5) การให้บรกิ ารรบั ช�ำระเงินแทน
6) การใหบ้ รกิ ารเงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ใ่ี ชซ้ อ้ื สนิ คา้ และหรอื รบั บรกิ ารเฉพาะอยา่ งตามรายการ
ทก่ี ำ� หนดไวล้ ว่ งหนา้ จากผใู้ หบ้ รกิ ารหลายราย โดยไม่จำ� กดั สถานท่แี ละไมอ่ ยภู่ ายใตร้ ะบบการจัดจ�ำหนา่ ย
และการใหบ้ ริการเดียวกนั
อยา่ งไรกด็ ี ใน พ.ศ. 2560 ไดม้ ีการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ริ ะบบการชำ� ระเงนิ พ.ศ. 2560 ใน
ราชกจิ จานุกเบกษาวนั ที่ 18 ตลุ าคม 2560 ซึง่ มผี ลบังคับใช้วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป โดย
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ เนื่องมาจากปัจจุบันมีกฎหมายเก่ียวกับการช�ำระเงินหลายฉบับ
ซงึ่ ขาดหลกั การสำ� คญั ทเี่ ปน็ สากล คมุ้ ครองเงินท่ีโอนส�ำเรจ็ (finality) คมุ้ ครองเงินรบั ล่วงหนา้ ของลูกค้า
(float) และคุ้มครองหลักประกันเพ่ือการช�ำระดุล ดังนั้น เพื่อให้ระบบการช�ำระเงินมีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานสากล เอื้อต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการช�ำระเงิน ส่งเสริมพัฒนาระบบการช�ำระเงินทาง