Page 54 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 54

15-44 สารสนเทศศาสตร์เบ้อื งตน้
       กฎหมายคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คลไดก้ ำ� หนดหลกั เกณฑใ์ นการดำ� เนนิ งานเกย่ี วกบั การเกบ็ รวบรวม

การประมวลผล และการเปิดเผยข้อมูลหรือการน�ำข้อมูลไปใช้ เพ่ือป้องกันไม่ให้ผู้ที่มีหน้าท่ีจัดเก็บข้อมูล
สว่ นบคุ คลด�ำเนินการไปในทางท่อี าจจะกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายแกเ่ จา้ ของขอ้ มลู หรอื ผอู้ นื่ ซง่ึ เกย่ี วข้องกบั
ข้อมูลส่วนบุคคลนั้น และในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลต้องกระท�ำเท่าที่จ�ำเป็น ภายใต้กรอบ
วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บข้อมูลน้ัน กล่าวคือ ผู้มีหน้าท่ีจัดเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องจัดเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลที่เก่ียวข้องกับกรอบวตั ถุประสงค์ที่ดำ� เนินการเท่านน้ั

       ตามกฎหมายไทยนั้นเนื่องจากยังไม่มีกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรง แต่มีพระราช-
บญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ซงึ่ กำ� หนดนยิ าม ขอ้ มลู ขา่ วสารสว่ นบคุ คล ไวว้ า่ หมายความถงึ
“ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เช่น การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติ
อาชญากรรม หรือประวตั กิ ารทำ� งาน บรรดาทีม่ ีชื่อของผู้นัน้ หรือมเี ลขหมายรหสั หรอื ส่งิ บอกลกั ษณะอื่นท่ี
ท�ำให้รู้ตัวผู้น้ันได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคนหรือรูปถ่าย และให้หมายความ
รวมถึงขอ้ มลู ข่าวสารเกีย่ วกับสงิ่ เฉพาะตัวของผู้ที่ถงึ แกก่ รรมแลว้ ด้วย”

       หลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลได้รับการกล่าวถึงในระดับสากลอย่างกว้างขวาง แต่ท่ีถือเป็น
แนวทางการคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คลทเี่ ปน็ ฉบบั แรก และไดร้ บั การนำ� ไปบญั ญตั ไิ วใ้ นกฎหมายภายในของ
ประเทศตา่ งๆ คอื การคุ้มครองขอ้ มลู สว่ นบุคคลตามแนวทางขององคก์ ารเพือ่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ
และการพฒั นา (OECD Guidelines on the Protection of Privacy and Transborder Flows of
Personal Data) ซ่ึงวางแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับข้อมูลส่วนบุคคล โดยให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การคุ้มครองสิทธิความเป็นส่วนตัว และการดูแลการส่งผ่านข้อมูลระหว่างประเทศ โดยภาพรวมของการ
คุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคลมีหลักการดังตอ่ ไปน้ี (OECD, 1980)

       1)	 หลักการจัดเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบุคคลอยา่ งจ�ำกดั (collection limitation principle) การจดั เก็บ
ขอ้ มลู จะตอ้ งไดม้ าโดยวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย และจะตอ้ งกระทำ� อยา่ งจำ� กดั เทา่ ทจี่ ำ� เปน็ โดยตอ้ งให้
ผเู้ ป็นเจ้าของข้อมูลรับทราบและได้รับความยินยอมในการจดั เก็บขอ้ มูลดว้ ย ดังนนั้ หลกั การจัดเกบ็ ขอ้ มูล
สากลจงึ มหี ลักทีย่ อมรบั กนั วา่ การเปดิ เผยขอ้ มลู ส่วนบุคคลเปน็ ขอ้ ยกเว้น ส่วนการปกปดิ เปน็ หลกั ทวั่ ไป

       2)	 หลักคุณภาพและไดส้ ัดสว่ นของขอ้ มลู (data quality and proportional principle) ข้อมลู
สว่ นบคุ คลทจ่ี ดั เกบ็ จะตอ้ งมคี วามเกย่ี วขอ้ งและไดส้ ดั สว่ นกบั วตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ อ้ งการจะใช้ และตอ้ งเปน็ ขอ้ มลู
ท่ีถูกต้องตรงกับความเป็นจริง และมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอตลอดเวลาท่ีมีการประมวลผล
ขอ้ มูล

       3)	 หลักการกำ� หนดวัตถุประสงคใ์ นการใช้ขอ้ มูลส่วนบคุ คล (purpose specification principle)
กอ่ นจะมกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลจะตอ้ งระบวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั เกบ็ และการใชข้ อ้ มลู ในภายหลงั นน้ั
จะต้องกระทำ� ไปเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ดงั กลา่ วเทา่ นั้น

       4)	 หลักการใช้ข้อมลู สว่ นบคุ คลอยา่ งจ�ำกัด (use limitation principle) การใชข้ อ้ มลู ส่วนบุคคล
จะต้องใชต้ ามวัตถปุ ระสงคท์ ีร่ ะบไุ วเ้ ท่านน้ั จะมีการเข้าถึง เปิดเผย หรอื ใช้ข้อมลู นอกเหนือไปจากทีร่ ะบุไว้
ในวตั ถปุ ระสงคม์ ไิ ด้ เวน้ แตไ่ ด้รบั อนุญาตจากเจ้าของขอ้ มูล หรอื โดยได้รับอนุญาตตามเงอ่ื นไขท่กี ฎหมาย
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59