Page 59 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 59

กฎหมายและจริยธรรมสารสนเทศ 15-49

2.	 การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล

       สิทธิส่วนบุคคล เป็นเรื่องที่เก่ียวข้องกับทางกฎหมายและจริยธรรมอย่างใกล้ชิด เนื่องจากสิทธิ
สว่ นบุคคลในทางกฎหมายไดร้ ับการคุ้มครองตามกฎหมายว่าเปน็ สิทธขิ ั้นพ้ืนฐานของประชาชนอยา่ งหนง่ึ
ซึ่งไม่มีผู้ใดสามารถล่วงละเมิดได้ และแนวคิดเร่ืองสิทธิส่วนบุคคลในปัจจุบันยังรวมถึงการคุ้มครองความ
เปน็ ส่วนตัวในข้อมลู สว่ นบุคคลวา่ เป็นสทิ ธสิ ่วนบคุ คลประเภทหน่งึ ด้วย

       แนวคดิ เกยี่ วกบั สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลเกดิ ขนึ้ เปน็ เวลานาน โดยปรากฏใหเ้ หน็ จากพระคมั ภรี ไ์ บเบลิ และ
กฎหมายของชาวยิว กรกี หรือจนี ไดย้ อมรบั แนวคดิ เร่ืองสทิ ธสิ ่วนบุคคลไวเ้ ชน่ เดียวกนั แตแ่ นวคิดเรอ่ื ง
สิทธิส่วนบุคคลท่ีได้รับการยอมรับและมีการอ้างอิงถึงอย่างแพร่หลาย คือ แนวคิดของวอร์เรน (Samuel
D. Warren) และเบรนดสี ์ (Louis D. Brandeis) ใน ค.ศ. 1890 ซงึ่ ไดอ้ ธบิ ายวา่ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล หมายถงึ
“สิทธทิ ่ีจะอยู่โดยลำ� พงั ” (the right to be let alone) โดยถอื เป็นแนวคิดในเชิงกฎหมายในช่วงเริ่มแรก
(คณะกรรมมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ, 2546, น. 16)

       ตอ่ มา เมอื่ เกดิ พัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในการติดตอ่ สื่อสารผ่าน
ระบบเครอื ขา่ ย ท�ำให้แนวคดิ ที่วา่ สทิ ธสิ ่วนบุคคล หมายถงึ “สิทธิทีจ่ ะอยู่โดยลำ� พัง” (the right to be
let alone) นั้น ไม่เพยี งพอ เพราะการละเมิดความเปน็ สว่ นตัวสามารถทำ� ไดโ้ ดยง่าย ดงั นัน้ จงึ ได้มคี วาม
พยายามบญั ญัตคิ วามหมายของคำ� ว่าสิทธสิ ว่ นบุคคลใหส้ อดคลอ้ งกับสังคมยคุ ใหม่ โดยเวสติน (Alan F.
Westin) ไดใ้ หค้ วามหมายของคำ� วา่ สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล ไวใ้ นหนงั สอื “Privacy and Freedom” วา่ หมายถงึ
“สิทธิของแต่ละบุคคล กลุ่ม หรือองค์กรในการตัดสินใจว่า ข้อมูลข่าวสารของตนเองน้ันจะถูกเปิดเผย
ต่อบุคคลอ่ืน เมื่อใด อย่างไร และมีขอบเขตมากน้อยเพียงใด” (คณะกรรมมการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แหง่ ชาต,ิ 2546, น 17)

       สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล ไดถ้ กู จดั ใหเ้ ปน็ สทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐานของประชาชนทไ่ี ดร้ บั การคมุ้ ครองไวใ้ นรฐั ธรรมนญู
ของประเทศตา่ งๆ รวมทง้ั ในระดบั ระหวา่ งประเทศไดม้ กี ารวางกรอบเบอื้ งตน้ เกย่ี วกบั สทิ ธสิ ว่ นบคุ คลไวใ้ น
มาตรา 12 ของปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชนของสหประชาชาติ และรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช 2550 ก็ได้รับรองสิทธิส่วนบุคคลไว้เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนเช่นเดียวกัน ต้ังแต่
บทบญั ญัติมาตรา 32 ถงึ มาตรา 38 และขอ้ มลู สว่ นบุคคลก็ได้รับการคุ้มครองไวใ้ นมาตรา 35 วรรคสอง
ของรัฐธรรมนญู ฉบับเดียวกนั น้ี
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64