Page 58 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 58
15-48 สารสนเทศศาสตรเ์ บือ้ งต้น
2) กฎหมายเป็นข้อบังคบั ทเี่ ป็นลายลักษณอ์ กั ษร แต่จรยิ ธรรมเปน็ เร่ืองของความสมคั รใจ
3) กฎหมายมบี ทลงโทษท่ชี ัดเจนและแนน่ อน แต่จริยธรรมไม่มบี ทลงโทษส�ำหรบั ผ้ทู ่ฝี ่าฝนื
4) กฎหมายเปน็ สง่ิ ทคี่ วบคมุ การกระทำ� ของคน แตจ่ รยิ ธรรมเปน็ สง่ิ ทค่ี วบคมุ จติ ใจ ไมใ่ หค้ นกระทำ�
ในสิ่งที่ไมถ่ กู ต้อง
5) กฎหมายมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ลงโทษผกู้ ระทำ� ผดิ หรอื ชดใชค้ า่ เสยี หาย แตจ่ รยิ ธรรมมวี ตั ถปุ ระสงค์
เพ่อื ยกระดับคุณค่าทางจิตใจคน
นอกจากจริยธรรมกับกฎหมายเป็นส่ิงที่มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดแล้ว จริยธรรมยังเป็น
ที่มา:ของสิ่งท่ีเรียกว่า จรรยาบรรณ ซ่ึงเป็นหลักประพฤติปฏิบัติส�ำหรับผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ วิชาชีพ
หลายสาขาต่างมีจรรยาบรรณเป็นของตนเอง เพื่อควบคุมความประพฤติและเป็นแนวปฏิบัติส�ำหรับผู้ที่
ประกอบวิชาชีพนน้ั ๆ เช่น แพทย์ วศิ วกร ทนายความ เปน็ ต้น โดยกล่มุ วิชาชพี เหลา่ นีไ้ ดม้ กี ารประมวล
จรรยาบรรณไวเ้ ปน็ การเฉพาะใหส้ มาชกิ ของกลมุ่ ปฏบิ ตั ติ าม และอาจมบี ทลงโทษไวส้ ำ� หรบั ผทู้ ฝี่ า่ ฝนื จรรยา-
บรรณแตกตา่ งกันออกไป
ตารางที่ 15.1 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกฎหมาย จริยธรรม และจรรยาบรรณ
กฎหมาย จริยธรรม จรรยาบรรณ
เป็นค�ำส่งั กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คับ เป็นหลกั ประพฤตปิ ฏิบัตใิ หท้ �ำ เปน็ หลกั ประพฤติปฏิบตั ใิ หท้ �ำ
ในส่ิงท่ีถกู ต้อง ดีงาม ในส่ิงท่ถี กู ต้อง ดงี าม
ออกโดยรฐั เกิดจากสังคม ออกโดยกลุม่ วชิ าชีพ
เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร เป็นเรือ่ งความสมัครใจ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
มีบทลงโทษทช่ี ัดเจนและแนน่ อน ไมม่ ีบทลงโทษสำ� หรบั ผทู้ ฝ่ี า่ ฝนื อาจมบี ทลงโทษส�ำหรบั ผูท้ ฝี่ า่ ฝืน
มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื ลงโทษผู้กระทำ� มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อยกระดบั คณุ คา่ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ควบคมุ ความ
ผิด ทางจิตใจคน ประพฤติของผูป้ ระกอบวิชาชีพ
ต่างๆ
จากความหมายท่ีได้กล่าวมาจึงสรุปได้ว่า จริยธรรม หมายถึงหลักประพฤติปฏิบัติของบุคคลให้
กระทำ� ในส่งิ ท่ถี กู ต้องดงี ามนนั่ เอง สว่ นสารสนเทศน้ันหมายถงึ ข้อมูลตา่ งๆ ทไี่ ด้ผา่ นการเปล่ียนแปลงหรอื
มีการประมวผล และจัดระเบียบให้อยู่ในรูปแบบท่ีน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้น จริยธรรมสารสนเทศ จึง
เปน็ เรอ่ื งของหลกั ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ เพอื่ ใหก้ ารจดั การขอ้ มลู เปน็ ไป
อยา่ งถกู ตอ้ ง แมน่ ยำ� ครบถว้ น และสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งสงู สดุ รวมทง้ั ไมเ่ ปน็ การละเมดิ
สทิ ธิสว่ นบุคคล หรอื ก่อให้เกิดความเสยี หายแก่เจ้าของขอ้ มลู หรอื บคุ คลอ่ืนที่เกีย่ วขอ้ ง