Page 51 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 51

กฎหมายและจรยิ ธรรมสารสนเทศ 15-41

4.	 กฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

       ระบบการช�ำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-payment) ของไทยได้เริ่มน�ำมาใช้เป็นระยะเวลานานแล้ว
ตงั้ แตร่ ะบบการเบกิ จา่ ย การโอนเงนิ ผา่ นเครอื่ งเบกิ ถอนเงนิ สดอตั โนมตั ิ หรอื ทเี่ รยี กทวั่ ไปวา่ เครอ่ื งเอทเี อม็
และมพี ฒั นาการเรอ่ื ยมาจนถงึ ปจั จบุ นั โดยทวั่ ไป การโอนเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สจ์ ะมบี ทบาทเปน็ อยา่ งมาก
ในการท�ำธุรกรรมทางการค้า เช่น การใช้บัตรเครดิต (credit card) และบัตรเดบิต (debit card)
โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ประกอบธุรกิจส่วนใหญ่นิยมใช้วิธีการดังกล่าวในการประกอบธุรกิจ เน่ืองจากเป็น
ช่องทางในการช�ำระเงินท่ีง่ายและสะดวกรวดเร็ว จึงมีความจ�ำเป็นในการออกกฎหมายเพ่ือควบคุมดูแล
ธุรกิจบริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือเป็นการตรวจสอบตัวตนของผู้ประกอบธุรกิจและสร้าง
ความเชื่อม่นั ให้แกผ่ ้บู รโิ ภคในการช�ำระเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์

       ใน พ.ศ. 2551 ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการควบคมุ ดแู ลธรุ กจิ บรกิ ารการชำ� ระ
เงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 โดยมีผลบังคับใช้เม่ือวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 เจตนารมณ์ของ
พระราชบัญญัติน้ีคือเพื่อควบคุมดูแลผู้ให้บริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากในปัจจุบัน
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสม์ คี วามก้าวหนา้ มากข้นึ ซ่งึ ธุรกิจบริการเกี่ยวกบั การชำ� ระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์
เป็นธุรกิจท่ีต้องใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีความซับซ้อนและหลากหลาย และเป็นธุรกิจท่ีมีมูลค่า
โดยรวมทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูงและมีการขยายตัวเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว นอกจากน้ี ผู้ให้บริการในธุรกิจ
การช�ำระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ในขณะนี้มิได้มีเพียงสถาบันการเงินเทา่ นนั้ แตย่ ังรวมถงึ ผใู้ หบ้ รกิ ารท่ีมิได้
มกี ฎหมายใดควบคมุ ดแู ล จงึ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ความมน่ั คงทางการเงนิ และการพาณชิ ย์ ความนา่ เชอื่ ถอื
และยอมรับในระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณชน กอปรกับเพ่ือ
บรู ณาการกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ธรุ กจิ บรกิ ารเกยี่ วกบั การชำ� ระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ หเ้ ปน็ ฉบบั เดยี วกนั
อันจะช่วยก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการควบคุมดูแล และเป็นมาตรการส�ำคัญประการหน่ึงในการส่งเสริม
การใชบ้ รกิ ารการชำ� ระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สม์ ากขนึ้ และเปน็ การเพมิ่ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั ของภาคธรุ กจิ
หรอื การใหบ้ รกิ ารภาครัฐ จงึ จำ� เปน็ ต้องตราพระราชกฤษฎกี านี้

       พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการควบคมุ ดแู ลธรุ กจิ บรกิ ารการชำ� ระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สฯ์ ไดก้ ำ� หนด
นิยาม การชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ว่าหมายถึง “การโอนสิทธิการถือครองเงินหรือการโอนสิทธิการ
ถอนเงนิ หรอื หกั เงนิ จากบญั ชเี งนิ ฝากของผใู้ ชบ้ รกิ ารทเ่ี ปดิ ไวก้ บั ผใู้ หบ้ รกิ ารดว้ ยวธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ทงั้ หมดหรือบางส่วน”

       ธุรกิจบริการการช�ำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของพระราชกฤษฎีกาว่า
ดว้ ยควบคมุ ดูแลธรุ กจิ บริการการช�ำระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนกิ สฯ์ มดี ว้ ยกนั ทั้งสนิ้ 8 ประเภท ได้แก่

            1)	 ธุรกจิ การใหบ้ ริการเงินอิเล็กทรอนิกส์
            2)	ธุรกจิ บรกิ ารเครอื ขา่ ยบัตรเครดิต
            3)	ธุรกิจบรกิ ารเครือขา่ ยอีดีซี
            4)	ธรุ กจิ บรกิ ารสวิตชช์ ิ่งในการช�ำระเงนิ
            5)	ธรุ กจิ บริการหกั บัญชี
            6)	ธรุ กจิ บริการช�ำระดุล
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56