Page 27 - สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
P. 27

กฎหมายและจริยธรรมสารสนเทศ 15-17
            4)		พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองพันธพุ์ ืช พ.ศ. 2542 เปน็ กฎหมายที่ให้ความคุม้ ครองพนั ธแุ์ ก่
พชื ใหม่ โดยสรา้ งเงื่อนไขใหผ้ ทู้ ่ีขอรบั การคมุ้ ครองพันธ์ุพชื ใหม่ ท่ีน�ำเอาพนั ธ์พุ ืชท้องถ่นิ ไปใชป้ ระโยชน์ใน
การปรบั ปรุงพันธ์ุ ตอ้ งขออนุญาตและตอ้ งทำ� สัญญาส่วนแบ่งประโยชน์กอ่ น
            5)		พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแบบผงั วงจรรวม พ.ศ. 2543 เปน็ กฎหมายทคี่ ุ้มครองแผนผงั
หรือภาพท่ีท�ำขึ้น ไม่ว่าจะปรากฏในรูปแบบหรือวิธีใด เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อของวงจร
ไฟฟา้ เช่น ตัวน�ำไฟฟ้า หรอื ตวั ต้านทาน เป็นตน้
            6)		พระราชบัญญัติความลับทางการค้า พ.ศ. 2544 เป็นกฎหมายท่ีให้ความคุ้มครองแก่
ขอ้ มลู การคา้ ซง่ึ ยงั ไมเ่ ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั โดยทวั่ ไป โดยเปน็ ขอ้ มลู ทมี่ มี ลู คา่ ในเชงิ พาณชิ ยเ์ นอ่ื งจากขอ้ มลู นน้ั เปน็
ความลบั และมีการดำ� เนินการตามสมควรเพื่อทำ� ใหข้ อ้ มูลน้ันปกปดิ เปน็ ความลับ
            7)		พระราชบญั ญัติสิ่งบ่งชท้ี างภมู ิศาสตร์ พ.ศ. 2546 เป็นกฎหมายทใ่ี หค้ วามคุ้มครองแก่
ชอ่ื สญั ลกั ษณ์ หรือสิง่ อ่ืนใดท่ีใชเ้ รียกหรอื ใชแ้ ทนแหล่งภูมศิ าสตร์ และสามารถบ่งบอกว่าสินค้าทเ่ี กิดจาก
แหล่งภูมิศาสตร์น้ัน เป็นสินค้าท่ีมีคุณภาพ ช่ือเสียงหรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์ดังกล่าว
เชน่ ข้าวหอมมะลทิ ่งุ กุลาร้องไห้ ทุเรียนนนท์ ไข่เค็มไชยา เปน็ ตน้

2.	 สาระส�ำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา

       กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาของไทยมีหลายฉบับ แต่ในส่วนนี้จะกล่าวถึงเฉพาะ
กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การคมุ้ ครองสทิ ธขิ องเจา้ ของทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา และมคี วามสำ� คญั กบั การจดั การ
สารสนเทศโดยตรง โดยเฉพาะการนำ� สารสนเทศไปใชง้ านทอี่ าจกระทบสทิ ธขิ องเจา้ ของทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
ได้แก่ 1) พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 2) พระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการค้า พ.ศ. 2534 และ
3) พระราชบัญญตั สิ ิทธิบตั ร พ.ศ. 2552 ซ่ึงมีสาระสำ� คญั ดงั น้ี

       2.1		พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มผี ลบงั คบั ใชเ้ มือ่ วนั ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2538 กำ� หนด
นยิ ามของ ลิขสิทธ์ิ ไวว้ า่ เปน็ “สทิ ธแิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี วทจ่ี ะกระทำ� การใดๆ ตามพระราชบญั ญตั นิ เ้ี กย่ี วกบั การ
ที่ผู้สร้างสรรค์ได้ท�ำข้ึน” ซ่ึงเป็นการให้สิทธิแก่ผู้ผลิตหรือผู้ประดิษฐ์แต่เพียงผู้เดียว ท่ีจะสามารถท�ำซ้ํา
ดัดแปลง แก้ไข หรือจ�ำหน่ายจ่ายแจกผลงานที่ตนสร้างขึ้น ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์อาจเกิดได้หลาย
ลักษณะ เช่น การดาวน์โหลดเพลง ภาพยนตร์ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การน�ำรูปภาพของผู้อ่ืนมา
ใช้งาน การน�ำผลงานวชิ าการของผูอ้ ่นื มาใช้ เปน็ ต้น นอกจากนี้ ปัญหาการละเมิดลิขสิทธ์ิในปจั จบุ นั อาจ
เป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิทางด้านซอฟต์แวร์ (software piracy) ซึ่งเป็นการคัดลอกหรือผลิตซอฟต์แวร์ซํ้า
กับซอฟต์แวรท์ ีไ่ ด้มีการจดลิขสทิ ธไ์ิ วแ้ ล้ว

       ตัวอย่างของการละเมิดลิขสิทธิ์ ได้แก่
       ตวั อยา่ งที่ 1 การทำ� ซาํ้ ไฟลเ์ พลงซง่ึ จดั เกบ็ อยใู่ นรปู เอม็ พสี าม (MP3) เพอ่ื เผยแพรห่ รอื จดั จำ� หนา่ ย
โดยไม่ไดร้ บั ความยินยอมจากเจา้ ของลขิ สทิ ธ์ิ
       ตัวอย่างที่ 2 การดาวน์โหลดโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อมาใช้งานในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
ซงึ่ โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ว่ นใหญจ่ ะมลี ำ� ดบั หมายเลข (serial number) ไวใ้ หผ้ ใู้ ชป้ อ้ นลงไปกอ่ นการใชง้ าน
เพื่อยืนยันวา่ เปน็ โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่ีถกู ตอ้ งตามลขิ สทิ ธิ์
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32