Page 48 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 48
8-38 การวจิ ยั เบ้อื งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
การวิจัยในมนุษย์ จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ประจ�ำสาขาวิชาทางชีวเวชศาสตร์และ
การวิจยั ทางการแพทย์มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ก่อนการเก็บขอ้ มลู
หลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างครบทุกขั้นตอน ผู้วิจัยก�ำหนดให้น�ำข้อมูลจาก
แบบสอบถามและแบบทดสอบทมี่ กี ารลงรหสั ตามทก่ี ำ� หนดไวแ้ ลว้ มาปอ้ นขอ้ มลู ลงโปรแกรมไมโครซอฟท์
เอ็กซ์เซล (Microsoft Excel) และป้องกันความผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลโดยการท�ำ double data
entry ซ่ึงตรวจสอบความคลาดเคล่อื นของการปอ้ นขอ้ มูล (validation) โดยใช้ Epi info for Windows
version 3.5 จากนั้นจงึ ตรวจสอบคา่ missing และคา่ ทีเ่ ปน็ ไปไมไ่ ด้ เพ่อื แกไ้ ขฐานข้อมูลให้ถกู ต้องด้วย
โปรแกรมเอสพเี อสเอส เวอร์ชัน 17.0 ก่อนทำ� การวเิ คราะหด์ ว้ ยสถิติทก่ี ำ� หนดไว้
4. การออกแบบการวิเคราะห์และน�ำเสนอข้อมูล
4.1 การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
ผวู้ จิ ยั กำ� หนดใหใ้ ชส้ ถติ เิ ชงิ พรรณนาในการประมวลขอ้ มลู คอื การแจกแจงความถี่ การหาคา่ กลาง
(คา่ มธั ยฐาน คา่ พสิ ยั ควอไทล์ และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน) และการทดสอบคา่ ที (t-test) การออกแบบการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยสถติ ิสำ� หรับงานวิจัยเร่ืองนี้ มีความเหมาะสม มีข้อมูลทแี่ สดงคา่ สถติ ิที่ชัดเจน
4.2 การออกแบบการน�ำเสนอข้อมูล
ผู้วิจยั น�ำเสนอขอ้ มูลด้วยการอธบิ ายเปน็ ความเรียง มตี ารางสถิตปิ ระกอบ เนอื่ งจากงานช้นิ นี้เปน็
บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารจึงมีความจ�ำกัดในเรื่องความยาวของบทความ การน�ำเสนอผลการวิจัย
สามารถตอบคำ� ถามการวิจยั ไดค้ รบ สน้ั กระชับ แบ่งเน้อื หาออกเป็น 4 ส่วน ประกอบดว้ ย
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปกับการเคยเข้าใช้ฐานขอ้ มูลอิเล็กทรอนกิ ส์ด้านชวี การแพทย์
สว่ นท่ี 2 คะแนน known, คะแนน pretest, และคะแนน posttest
ส่วนท่ี 3 ประสทิ ธิผล ความถกู ต้อง ความรวดเร็ว และความถี่ในการสืบคน้
สว่ นท่ี 4 การเปรียบเทียบความพึงพอใจ
การออกแบบการน�ำเสนอข้อมูลให้ภาพเปรียบเทียบตามกลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
และมกี ารนำ� เสนอภาพความแตกตา่ งในดา้ นความรู้ ความสามารถของแตล่ ะกลมุ่ ไดช้ ดั เจน มกี ารอภปิ ราย
ผลทเ่ี ปน็ เหตเุ ปน็ ผล มขี อ้ เสนอแนะจากผลการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาสง่ เสรมิ ความสามารถในการสบื คน้ ขอ้ มลู จาก
ฐานขอ้ มูลทีม่ ีราคาแพง แต่การใช้ไมค่ ุ้มค่า มกี ารน�ำเสนอขอ้ จ�ำกัดของการวิจยั อย่างชัดเจนแสดง เพือ่ ให้
ผู้อ่านท่ีต้องการน�ำผลการวิจัยไปใช้ต่อได้รู้ถึงข้อจ�ำกัดในการใช้ข้อมูล และในการน�ำเสนอผลการวิจัยก็
สามารถจ�ำแนกให้เห็นชัดเจนในแต่ละประเด็นท่ีต้ังโจทย์ไว้ ในการอภิปรายผลการวิจัยท่ีค้นพบ สามารถ
เชอื่ มโยงกบั หลกั การ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ งได้ ซงึ่ ทำ� ใหอ้ นมุ านไดว้ า่ ผวู้ จิ ยั มกี ารทบทวนเอกสาร
และงานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง แต่ไม่ได้มีข้อมลู สว่ นน้นี �ำมารายงานไว้ในบทความ