Page 45 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 45

การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพและการวิจยั เชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ 8-35
       2. การสุ่มเข้ากลุ่มในการวิจัยเชิงทดลองมีสองแบบ คือ การสุ่มเข้ากลุ่ม เป็นการสุ่มตัวอย่าง
ประชากรเพอื่ ใหไ้ ดก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งทม่ี คี วามเปน็ ตวั แทนของประชากรเปา้ หมายของการศกึ ษา และการสมุ่ เขา้
กลมุ่ แบบสมบรู ณ์ เปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ งเขา้ สกู่ ลมุ่ การทดลองเพอ่ื ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งแตล่ ะกลมุ่ มคี วามคลา้ ยคลงึ
กนั มากที่สุด เปน็ กระบวนการท่ีเปน็ ระบบในการสุม่ หน่วยตัวอย่างมาจากประชากรทีส่ นใจศกึ ษา
       ในกรณีศึกษาข้างต้น ผู้วจิ ยั ใช้วิธกี ารเลือกหนว่ ยตัวอยา่ งดว้ ยการสุ่มเขา้ กลุ่ม

เรื่องที่ 8.2.3
กรณีศึกษาการออกแบบการวิจัยเชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์

ทนิ กฤต ศศปิ ระภา, จนั ทรท์ พิ ย์ ธรานนท,์ จฑุ ามาศ คา้ ทอง, สรุ ยิ า พามนตร,ี ทศพร เจรญิ ศร,ี แพรวพรรณ
       นาอดุ ม, ปรชั ญานนั ท์ แซโ่ งว,้ มานพ คณะโต, และสชุ าดา ภยั หลกี ล.้ี (2557). งานวจิ ยั เชงิ ทดลอง
       เปรียบเทียบประสิทธิผลจากการสืบค้นระหว่าง Biomedical electronic databases และ
       General search engines ของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสาร
       การพัฒนาสขุ ภาพชุมชน มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น, 2(3), 365-388.	
       ความรทู้ างการแพทยเ์ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ แหลง่ สารสนเทศทใ่ี หข้ อ้ มลู ครบถว้ น หลากหลาย

และทันสมัย คือ ฐานข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตซ่ึงมีเครื่องมือสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ คือ โปรแกรมค้นหา
(search engines) ชว่ ยใหส้ ามารถสบื คน้ ความรผู้ า่ นทางอนิ เทอรเ์ นต็ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทหลกั ไดแ้ ก่
โปรแกรมการค้นหาท่ัวไป (general search engines) ที่จะให้ข้อมูลในมุมกว้างและหลากหลาย เช่น
กูเกิล และโปรแกรมคน้ หาเฉพาะ (specialized search engines) ทีจ่ ะใหข้ ้อมูลเชิงลกึ ในสาขาวิชาใดวิชา
หนง่ึ เช่น ฐานข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ดา้ นชีวการแพทย์ (biomedical electronic databases) ซ่ึงเป็นฐาน
ขอ้ มลู ทางการแพทยโ์ ดยเฉพาะ และมคี า่ ใชจ้ า่ ยในการบอกรบั คอ่ นขา้ งสงู คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
ขอนแกน่ ได้จัดหาฐานขอ้ มูลนมี้ าใหบ้ ริการให้กบั นักศกึ ษาและบุคลากรทางการแพทยไ์ ด้ใชง้ าน แตพ่ บว่า
มกี ารใชน้ ้อย ไมค่ ุ้มค่าต่อการลงทุน

       คณะผวู้ จิ ยั มคี วามเหน็ วา่ ปญั หาการใชฐ้ านขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สช์ วี การแพทยข์ องนกั ศกึ ษาแพทย์
ควรไดร้ ับการแกไ้ ขตั้งแต่ในชน้ั ปรคี ลนิ ิก เพราะความรู้ทางปรีคลินกิ เปน็ พื้นฐานที่สำ� คัญในการเรียนในชัน้
คลนิ กิ และการรกั ษาผปู้ ว่ ยในอนาคต ดงั นน้ั การไดม้ าซงึ่ ความรทู้ ถี่ กู ตอ้ งจากการสบื คน้ มคี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ
แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการศึกษามาก่อนหน้าน้ีที่สนับสนุนว่าการสืบค้นผ่านฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ชวี การแพทย์น้ันดกี วา่ การสบื ค้นผา่ นโปรแกรมการสืบค้นทั่วไป ในแงข่ องประสิทธผิ ล ความถกู ตอ้ ง และ
ความรวดเร็วเก่ียวกับวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน (basic medical sciences) ซ่ึงเป็นเนื้อหาท่ีมี
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50