Page 16 - การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ
P. 16

6-4 การวเิ คราะห์และออกแบบระบบเชงิ วัตถุ

ตอนท่ี 6.1
ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับยูสเคส

โปรดอ่านหวั เร่ือง แนวคดิ และวัตถุประสงคข์ องตอนท่ี 6.1 แลว้ จึงศกึ ษารายละเอยี ดตอ่ ไป

  หัวเรื่อง

         6.1.1 	แนวคดิ เกย่ี วกบั ยสู เคส
         6.1.2	แผนภาพยูสเคสและคำ� อธบิ ายยสู เคส
         6.1.3	ความสัมพนั ธ์ของยสู เคส

  แนวคิด

         1.	ยูสเคสเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยในการพัฒนาระบบงานรวมไปถึงฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
            ทง้ั หมดทส่ี ามารถทำ� งานได้ เปน็ การบอกวา่ ภายในระบบนน้ั ๆ มกี ารทำ� งานอะไรบา้ งและ
            ติดต่อกับส่วนใดบ้าง คุณสมบัติของยูสเคส มีดังนี้ ยูสเคสจะถูกกระท�ำด้วย แอ็คเตอร์
            ยูสเคสจะท�ำการรับข้อมูลจาก แอ็คเตอร์ และส่งข้อมูลให้แอ็คเตอร์ ยูสเคส เป็นการ
            รวบรวมคุณลักษณะความต้องการภายในระบบ ดังน้ัน การที่นักพัฒนาระบบจะเข้ามา
            วเิ คราะหง์ านจะตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจกบั ระบบงานขององคก์ รและปญั หาทง้ั หมดทเ่ี กดิ ขนึ้
            ภายในระบบว่ามีส่วนประกอบใดบ้างจะท�ำให้สามารถแยกกิจกรรมต่างๆ ของภายใน
            ระบบได้

         2.	การสร้างแผนภาพยูสเคส เป็นการแสดงล�ำดับขั้นตอนการท�ำงานของระบบ ภายใน
            แผนภาพน�ำแอ็คเตอร์ มาเขยี นร่วมกนั กบั ยูสเคส และเชื่อมกนั ดว้ ยความสมั พันธ์ โดยท่ี
            จะตอ้ งมกี ารกำ� หนดขอบเขตของระบบใหแ้ นช่ ดั แผนภาพยสู เคสเปน็ การอธบิ ายถงึ ลำ� ดบั
            ของเหตกุ ารณต์ า่ งๆ และแสดงความสมั พนั ธข์ องแอค็ เตอรแ์ ละเหตกุ ารณภ์ ายในทเ่ี กดิ ขนึ้
            จากผ้กู ระทำ� หรอื แอ็คเตอร์ และนำ� ผลท่ไี ดจ้ ากการกระท�ำไปใช้งานตอ่

         3.	ความสมั พันธ์ ภายในแผนภาพยสู เคสจะเป็นการแสดงถึงความสัมพนั ธท์ ่เี กิดขึ้นภายใน
            ระบบท่ีเกิดข้ึนระหว่างยูสเคส หรือระหว่างยูสเคสและแอ็คเตอร์ หรือระหว่างแอ็คเตอร์
            ของภายในแผนภาพเปน็ สงิ่ ทจี่ ำ� เปน็ เพอ่ื ใหแ้ ผนภาพของยสู เคสมคี วามสมบรู ณม์ ากทสี่ ดุ
            ส�ำหรับสัญลักษณ์ท่ีใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างกันมีดังน้ี ความสัมพันธ์แบบท่ัวไป ความ
            สมั พนั ธร์ ะหวา่ งแอค็ เตอร์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งยสู เคส และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแอค็ เตอร์
            กับยูสเคส เป็นความสัมพันธ์ท่ีมีคุณสมบัติหรือพฤติกรรมที่แตกต่างกันตามรูปแบบท่ีมี
            การปฏสิ ัมพันธ์
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21