Page 34 - ท้าวมหาชมพู
P. 34

ฅ ทา้ วมหาชมพู
   ลังกาทวีป”
         จะเห็นได้ตามความในศภุ อกั ษรท่ีกล่าวมานี้ วา่ เมื่อครงั้
   กรุงเก่า มีความนิยมในการสร้างพระพุทธรูปทรงเคร่ืองเพียงไร
   ความนยิ มนน้ั มสี บื ตอ่ มาจนกรงุ รตั นโกสนิ ทรนี้ เพราะฉนนั้ พระพทุ ธ
   รปู สำคญั เชน่ พระฉลองพระองคก์ ด็ ี แลพระพทุ ธรปู สำหรบั แผน่ ดนิ
   เช่นพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกแลพระพุทธเลิศหล้านภาไลย ซึ่ง
   ประดิษฐานอย่ใู นพระอุโบสถวัดพระศรรี ตั นศาสดารามกด็ ี จงึ มกั
   สร้างเปนพระพุทธรูปทรงเครื่อง ส่วนเรื่องนิทานท้าวมหาชมพู
   อันเปนตน้ ตำนานของพระพุทธรปู ทรงเคร่อื งกเ็ ขียนรูปภาพไว้ ใน
   พระอารามหลวงหลายแหง่ จะยกตวั อยา่ งทพี่ อจะดไู ดง้ า่ ย คอื ทใี่ น
   พระอโุ บสถวดั ราชบรุ ณะเขยี นไวท้ ฝ่ี าผนงั ดา้ นนา่ เปนฝมี อื ชา่ งเขยี น
   ครั้งรัชกาลที่ ๑ งามกว่าทีไ่ หนๆ หมด
         แต่วัตถุนทิ านเร่อื งทา้ วมหาชมพูนี้ หามใี นพระไตรปฏิ ก
   คมั ภรี ห์ นง่ึ คมั ภรี ์ใดไม่ ตน้ หนงั สอื ทปี่ รากฏในประเทศน้ี มตี วั อรรถ
   ภาษาบาฬตี ลอดเรอื่ งเปนหนงั สอื ผกู ๑ นบั ในหมวดสตุ ตสงั คหะ คอื
   พวกหนงั สือซ่งึ สงเคราะหเ์ ข้าในพระสุตนั ตปฏิ ก หนงั สอื ชมพูบดี
   วัตถุท่ีสมเด็จพระเจ้าบรมโกษฐ์โปรดให้คัดส่งไปเมืองลังกาก็คง
   เปนหนงั สอื อรรถนนี้ น้ั เอง ผชู้ ำนาญภาษาบาฬไี ดต้ รวจสำนวน เหน็
   ว่าจะเปนหนังสือแต่งในแถวประเทศของเราน้ี ภายหลังหนังสือ
   จามเทวีวงศ์แลรัตนพิมพวงศ์ทำนองจะได้เรื่องวัตถุนิทานมาแต่
   คมั ภรี ท์ างลทั ธมิ หายาน เอามาแตง่ อรรถเปนภาษาบาฬขี นึ้ ในสยาม
   ประเทศน้ี เพราะฉนน้ั หนงั สอื เรอื่ งชมพบู ดวี ตั ถุ จงึ มไิ ดม้ ใี นลงั กา
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39