Page 117 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 117

ตวงพร พลิ าภ

   ไดทันที แลวรักษา ๑ - ๒ วันอาการก็ทุเลาหรือหาย

   สนิท คนสมัยกอนตองเขาไปหาสมุนไพรกันในปา

   เปนเวลานานๆ บางครั้งอาจไมมีสมุนไพรที่รักษาโรค

   นั้น หรือเกิดโรคใหมขึ้นมา ไมรูวาตองใชสมุนไพร

   ชนิดใดจึงจะรักษาได ในสังคมยุคปจจุบันผูคนลวน

   ตื่นตัวในการดูแลสุขภาพอีกทั้งธุรกิจสปาก็แพรหลาย

“ มากขึ้น สมุนไพรหลักที่เปนสวนประกอบสำคัญในการ
   บำบัดรักษาโรคที่เราไมควรมองขาม นั่นก็คือ “ไพล”

                            ไพล มถี นิ่ กำเนดิ ในประเทศอนิ เดยี

                       มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย ซึ่งมี

   ทกุ สว‹ นของไพล     ชื่อเรียกในแตล ะทอ งถน่ิ แตกตา งกนั ไป เชน
สามารถนำมาใชŒประโยชน  ในภาคเหนือเรียก “ปูเลย” ภาคกลางเรียก
                       “ไพล” หรือ “วานไฟ” แมฮองสอนเรียก

รกั ษาอาการตา‹ งๆ
“                      “มิ้นสะลาง”

ในชีวติ ประจำวันไดŒ           ไพลเปนสมุนไพรที่หาพบไดใน
  หลายอาการ            ทุก ภาค ของ ประเทศไทย จะ พบ มาก
                       ในภาคเหนือ มีชื่อทางวิทยาศาสตรวา

                       Zingiber Purpureum Rosc เปนพืชลมลุก

   จำพวกเหงาใตดิน มักแหงเหี่ยวในหนาแลง งอกงามใน

   หนาฝน เปลือกนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในเหงา

   สีเหลืองแกมเขียว มีกลิ่นเฉพาะ แทงหนอหรือลำตน

   เทียมขึ้นเปนกอ ประกอบดวยกาบใบหมุ ลำตน โคนกาบ

   สีแดงหุมซอนกัน ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปใบคลายใบหอก

   กวา ง ๓.๕ - ๕.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๑๓ - ๓๕ เซนติเมตร

   ดอกชอแทงจากเหงาใตดิน กลบี ดอกสีนวล ใบประดบั

   สมี ว ง ผลเปน ผลแหง รปู กลม ในตำราไทยระบุวาใชเหงา

                       ๑๐๙
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122