Page 313 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 313
การพัฒนาและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 10-91
ไมครอน อย่างไรก็ตาม ผู้ผ ลิตวัสดุฉ ลากได้พัฒนาลดค วามห นาเหลือ 30-40 ไมครอน เพื่อลดต้นทุน แต่ต ้องใช้กับ
ฉลากที่มีขนาดไม่ใหญ่เกินไป โดยปกติใช้กับบรรจุภัณฑ์ที่บรรจุไม่เกิน 1 ลิตร เนื่องจากฉลากมีความนิ่ม ติดฉลาก
ยากกว่าฉ ลากที่ห นา 60 ไมครอน
– กาว ชั้นกาวมีความหนาประมาณ 10 ไมครอน เคลือบอยู่ที่ผิวหลังของวัสดุทำ
ฉลาก
– ไลเนอร์ วัสดุป ิดบนผ ิวกาว ไม่ให้วัสดุทำฉ ลากท ี่เคลือบกาวแ ล้วเกาะต ิดกัน เมื่อ
ใชง้ าน ไลเนอร จ์ ะถ กู ล อกอ อก วสั ด ทุ ำไลเนอร ม์ ี 2 ชนดิ คอื กระด าษก ลาสซ นี (glassine) และฟ ลิ ม์ พ ลาสตกิ แมว้ า่ ร าค า
ของไลเนอร ท์ เี่ ปน็ ฟ ลิ ม์ พลาสตกิ PET จะส งู ก วา่ หากต อ้ งการใหม้ คี วามใสเสมอื นด ัง่ ไมม่ ฉี ลาก (non-label look) จำเปน็
ตอ้ งใชไ้ ลเนอร ท์ เี่ ปน็ ฟ ลิ ม์ PET กบั ฉ ลากช นดิ ใสแ ละต ดิ บ นบ รรจภุ ณั ฑท์ มี่ คี วามใส เชน่ ขวด PET เพราะไมท่ ิง้ ค ราบก าว
ที่ผ ิวบรรจุภ ัณฑ์หลังติดฉลากแล้ว
ข. การพิมพ์และแปรรูป มักพิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์หลายระบบ อาทิ เลตเตอร์เพรสส์
เฟลก็ โซก ราฟี สกรนี หรอื กราววั รก์ ไ็ ด้ เครือ่ งพมิ พส์ มยั ใหมม่ กี ารอ อกแบบใหส้ ามารถพ มิ พไ์ ดห้ ลายร ะบบภ ายในเครือ่ ง
เดียวกัน อาทิ ระบบการพิมพ์เฟล็ก โซกราฟี สกรีน และกราวัวร์ในการพิมพ์และอ าร์ตเวิร์กของง านเดียวกัน ได้อย่าง
รวดเร็ว นอกจากน ี้ ยังส ามารถต บแต่งด ้วยก ารป ั๊มฟ อยล์ส ีต ่าง ๆ หรือป ั๊มฟ อยล์ฮ อโลแ กร มเฉพาะต ำแหน่งได้อ ีกด ้วย
หลังจ ากพ ิมพ์แ ละต บแต่งแ ล้ว ฉลากจ ะถ ูกน ำไปป ั๊มห รืออ ัดต ัดเป็นฉ ลากต ามแ ม่แ บบให้ม ีข นาดแ ละแ บบต ามต ้องการ
โดยเป็นแผ่นใหญ่หรือเป็นม้วนก็ได้ ขึ้นกับวิธีการติดฉลาก หากเป็นการติดฉลากด้วยแรงงานคน จะสั่งซื้อเป็นแผ่น
หากต ิดด ้วยเครื่องต ิดฉ ลากอ ัตโนมัติ ก็จ ะส ั่งซ ื้อเป็นม ้วน ราคาข องเครื่องข ึ้นก ับป ระสิทธิภาพท ี่ต ้องการ เช่น ความเร็ว
ผิวข องบ รรจุภัณฑ์ท ี่จ ะติดฉลากว่าเรียบห รือโค้งน ูน เป็นต้น
(2) ฉลากฟิลม์ ห ด
ก. วัสดุ เป็นฟ ิล์มพ ลาสติกท ี่ผลิตข ึ้นม าให้ม ีสมบัติห ดต ัวได้เมื่อถ ูกค วามร ้อน ฟิล์มท ี่นิยม
ใช้แ ละสมบัติท ี่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
– PVC หดตัวได้สูง ทนก ารขูดขีดได้ดี พิมพ์ได้ด ี ราคาต ่ำกว่าฟ ิล์มชนิดอื่น ผู้ข าย
ปลีกบ างรายไม่ย อมรับเพราะมีภ าพพจน์เรื่องส ิ่งแ วดล้อมท ี่ไม่ดี
– PET หดตัวได้สูง ทนการขูดขีดได้ดีมาก พิมพ์ได้ดี คลายตัว (relaxation) ได้
หลังจากหดต ัวแ ล้ว ราคาสูง
– OPS นิ่ม มีความย ืดหยุ่นสูง หดตัวได้ดี ทนก ารขูดข ีดไม่ดีนัก อายุก ารเก็บข อง
ฟิล์มส ั้นในส ภาวะอากาศร้อนชื้น ราคาส ูงกว่า PVC และ PET
ข. วธิ ีการท ำให้ฟลิ ม์ หดตัว มี 2 วิธี คือ
– ใช้ลมร้อน (hot air) เป็นวิธีที่ทำงานง่าย แต่ควบคุมอุณหภูมิ (ความร้อน) ให้มี
ความสม่ำเสมอในทุกตำแหน่งของฉ ลากได้ยาก นอกจากจะมีเครื่องที่อ อกแบบเฉพาะ ต้นทุนต่ำก ว่าว ิธีท ี่ใช้ไอน ้ำ
– ใช้ไอน้ำ (steam) เป็นวิธีที่มีน้ำมาเกี่ยวข้อง จึงต้องมั่นใจว่าไม่เกิดการตกค้าง
ของน้ำ (ไอน้ำ) ในบรรจุภ ัณฑ์ห ลังจ ากฉ ลากหดต ัวแ ล้ว เช่น มีส ่วนที่ท ำให้แ ห้ง (dryer) อยู่ด ้วย ควบคุมค วามร ้อนให้
สม่ำเสมอในทุกต ำแหน่งข องฉลากได้ดี เหมาะกับก ารใช้กับฟิล์มหด PET และ OPS
ในประเทศไทย ฟิล์มห ดที่นิยมใช้มากท ี่สุด คือ PVC เนื่องจากห าซ ื้อได้ง่าย ผลิตได้เองภายในป ระเทศ ราคา
ต่ำกว่าชนิดอื่นและสามารถใช้กับลมร้อนได้ดี ควบคุมสภาวะการหดของฟิล์มได้ง่ายกว่าฟิล์มชนิดอื่น ไม่ก่อปัญหา
การคลายต ัว ทำให้ฉลากหลวมหรือหดตัวข ึ้นไปจนเสียรูป
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช