Page 69 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 13
P. 69
สถติ ินนั พาราเมตรกิ 13-59
เรื่องท ี่ 13.3.1 การวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ของข อ้ มลู สองกล่มุ
ทว่ี ดั ในระดับน ามบ ัญญตั ิ
การวัดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสองกลุ่ม หรือตัวแปรสองตัวโดยที่ตัวแปรแต่ละตัววัดในระดับ
นามบัญญัติน ั้นน ิยมใช้ส ัมประสิทธิ์การจรณ์ (Contingency coefficient: C)
1. ลกั ษณะข องก ารวิเคราะหค์ วามสมั พันธ์
สัมประสิทธิ์การจรณ์ เป็นขนาดความสัมพันธ์ของข้อมูลที่วัดในระดับนามบัญญัติสองกลุ่ม หรือ
สองตัวแปรโดยตัวแปรแต่ละตัวแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท ข้อมูลที่ใช้สามารถจัดอยู่ในตารางการจรณ์
r × c (r แถว และ c สดมภ์) ตามป ระเภทของตัวแปร ดังนี้
ตวั แปรส ดมภ์ (c สดมภ)์
1 2 ... c
ตัวแปรแถว 1
(r แถว)
2
…
r
2. ข้อตกลงเบอื้ งต ้น
ข้อมูลว ัดในร ะดับนามบ ัญญัติ และสามารถจัดอ ยู่ในตารางก ารจรณ์ได้
3. การต งั้ ส มมติฐาน
สมมติฐานเป็นส มมติฐานเพื่อทดสอบค ่าไคสแควร์ สมมติฐานตั้งแบบส องทางดังนี้
H0: ตัวแปรท ั้งสองไม่มีค วามส ัมพันธ์กัน
H1: ตัวแปรท ั้งสองม ีความสัมพันธ์กัน