Page 44 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 44

10-34

หลังเ​รียน

       1. 	 สถิติม​ ี​ขั้นต​ อน ได้แก่
            ขั้น​ที่ 1	 การ​เก็บ​รวบรวม​ข้อมูล (data collection) การเ​ก็บ​รวบรวม​ข้อมูล​สามารถ​เก็บ​ด้วย​

แบบสอบถาม แบบ​สัมภาษณ์ แบบส​ ังเกต แบบ​ทดสอบ และแ​ บบ​วัด​อื่นๆ
            ขั้น​ที่ 2	 การว​ เิ คราะหข​์ อ้ มลู (data analysis) เปน็ การเ​ลอื กใ​ชส​้ ถติ ท​ิ เี​่ หมาะส​ มก​ บั ว​ ตั ถปุ ระสงค​์

ของ​การ​วิจัย​และ​เหมาะ​สม​กับ​การ​หา​ลักษณะ​ของ​ข้อมูล การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ด้วย​สถิติ​พรรณนา​โดย​พิจารณา​
ดังนี้

                1)	ลักษณะ​ข้อมูลท​ ี่ห​ าจ​ ำ�นวน สถิติท​ ี่ใ​ช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อย​ละ สัดส่วน และอ​ ัตราส่วน
                2)	ลักษณะข​ ้อมูลท​ ีห่​ าค​ ่าก​ ลาง วัดด​ ้วยแ​ นวโ​น้วเ​ข้าส​ ูส่​ ่วนก​ ลาง สถิตทิ​ ีใ่​ช้ ได้แก่ ค่าเ​ฉลี่ย
มัธยฐาน และฐ​ านนิยม
                3)	ลักษณะ​ข้อมูล​ที่​หา​การก​ระ​จาย​ตัว วัด​ด้วย​การก​ระ​จาย สถิติ​ที่​ใช้ ได้แก่ พิสัย
ส่วน​เบี่ยง​เบน​เฉลี่ย ส่วน​เบี่ยงเ​บน​มาตรฐาน และ​ความ​แปรปรวน
                4)	ลกั ษณะข​ อ้ มลู ท​ หี​่ าร​ ปู ร​ า่ งข​ องก​ ารกร​ ะจ​ ายต​ วั ข​ องข​ อ้ มลู ท​ เี​่ ปน็ เ​สน้ โ​คง้ สถติ ท​ิ ใี​่ ช้ ไดแ้ ก่
หา​โค้งป​ กติ ความโ​ด่ง และ​ความเ​บ้
                5)	ลักษณะข​ ้อมูลท​ ี่ห​ าต​ ำ�แหน่งข​ องข​ ้อมูล สถิติท​ ี่​ใช้ ได้แก่ เปอร์เ​ซนไ​ทล์ คว​ อไ​ทล์ และ​
เดไ​ ซล์
            ขั้นท​ ี่ 3 การนำ�​เสนอข​ ้อมูล สามารถน​ ำ�​เสนอไ​ด้ห​ ลายว​ ิธีเ​พื่อใ​ห้ผ​ ู้อ​ ่านผ​ ลก​ ารว​ ิเคราะห์ข​ ้อมูลไ​ด​้
เข้าใจง​ ่าย โดยน​ ำ�​เสนอเ​ป็นบ​ ทความ ตาราง กราฟ และ​แผนภูมิ
       2.	 สถิติ​ที่ค​ วรเ​ลือกใ​ช้ คือ
            อาชีพ วุฒิ​การ​ศึกษา เพศ ใช้ค​ ่า​ร้อย​ละ
            ความ​คิด​เห็น​ต่อ​โครงการ​ส่ง​เสริม​คุณธรรม มาตร​วัด 5 ช่วง คือ 5 = มาก​ที่สุด 4 = มาก
            3 = ปาน​กลาง 2 = น้อย 1 = น้อยท​ ี่สุด ใช้​ค่าเ​ฉลี่ย และส​ ่วน​ส่วน​เบี่ยง​เบนม​ าตรฐาน
            กีฬา​ยอดน​ ิยม​ที่​นักเรียน​ชอบ ใช้ฐ​ านนิยม
            เปรียบ​เทียบต​ ำ�แหน่ง​ของ​ผู้​ที่​สอบไ​ด้ ใช้เ​ปอร์​เซน​ไทล์ เด​ไซล์ คว​ อ​ไทล์
       3.	 การ​วิเคราะห์ข​ ้อมูล​ร้อยล​ ะ​มีข​ ้อ​ควร​ระวัง คือ
            3.1		ควร​ใช้​กับ​ข้อมูล​ที่​มี​มากกว่า​ร้อย​ขึ้น​ไป จะ​ไม่​นิยม​นำ�​เสนอ​ข้อมูล​ที่​น้อย​กว่า​ร้อย เพราะ​
ทำ�ให้​เกิดค​ วาม​เข้าใจผ​ ิด​ว่าร​ ้อย​ละม​ าก​ไป​หรือน​ ้อย​ไป เช่น มี​นักเรียน 4 คน สอบ​ผ่าน​เกณฑ์ 2 คน ไม่​ผ่าน​
เกณฑ์ 2 คน สรุปว​ ่า​สอบไ​ม่​ผ่านเ​กณฑ์ ร้อยล​ ะ 50 ทำ�ให้เ​ข้าใจผ​ ิดว​ ่าโ​รงเรียนน​ ี้น​ ักเรียนไ​ม่เ​ก่งจ​ ึง​สอบไ​ม่​ผ่าน​
เกณฑ์​ถึง​ครึ่ง​หนึ่ง หาก​หา​ร้อย​ละ​จาก​นักเรียน​ทั้งหมด​ค่า​ร้อย​ละ​จะ​เปลี่ยน​ไป จึง​ไม่​ควร​เสนอ​ด้วย​ค่า​ร้อย​ละ
แต่​ควรเ​สนอ​ค่า​สัดส่วน ดัง​จะ​ได้​กล่าว​ต่อ​ไป
   39   40   41   42   43   44   45   46