Page 41 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 10
P. 41
10-31
เฉลยแบบป ระเมินผ ลต นเองห น่วยท ี่ 10
ก่อนเรียน
1. ข้อมูลและสถิติมีความแตกต่างกันคือ ข้อมูลเป็นตัวเลขหรือข้อความ หากแบ่งข้อมูลตาม
แหล่งเก็บแบ่งได้ 2 แบบ คือ ข้อมูลที่เก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรงท ี่เรียก “ข้อมูลป ฐมภ ูมิ” (primary data)
หากข้อมูลที่จัดเก็บไว้แล้ว เช่น เก็บไว้ที่เขตพื้นที่ ที่อำ�เภอ หรือที่จังหวัดเก็บรวบรวมไว้ ข้อมูลเหล่านี้
เรียกว่า “ข้อมูลทุติยภูมิ” (secondary data) ข้อมูลการวิจัยจะได้จากการวัดค่าตัวแปร โดยการกำ�หนด
หน่วยการวัด ทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณ และเป็นข้อความที่ป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ส่วนสถิติ เป็นข้อมูลที่
จัดกระทำ�โดยก ารวิเคราะห์ข ้อมูลแ ล้ว โดยห าค่าต ่างๆ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าฐานนิยม ค่าม ัธยฐาน เป็นต้น
2. สถิติแบ่งเป็นสถิติแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ สถิติพรรณนา และสถิติอ้างอิง โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
2.1 สถติ พิ รรณนา หมายถ งึ ส ถติ ทิ มี่ ุง่ อ ธบิ าย หรอื บ รรยายล กั ษณะข องข อ้ มลู ท เี่ กบ็ ร วบรวมได้
จากก ลุ่มต ัวอย่าง หรือจ ากป ระชากรก ลุ่มใดกลุ่มห นึ่งโดยไมอ่ ้างอิงไปย ังก ลุ่มอ ื่น โดยค ่าส ถิตนิ ีจ้ ะบ อกส ถานะ
ของก ลุ่ม โดยลดรูปข้อมูลให้อ ยู่ในร ูปที่ง ่ายข ึ้น ช่วยให้ผ ู้อ่านได้เข้าใจค่าที่ได้ง่าย ได้แก่ ค่าร้อยล ะ สัดส่วน
อัตราส่วน ค่าเฉลี่ยห รือค ่าม ัชฌิมเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ความโด่ง ความเบ้ พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนเบี่ยงเบนค ว อไทล์
2.2 สถิติอ้างอิง เป็นส ถิติที่ใช้ข้อมูลจากกลุ่มต ัวอย่าง เพื่อป ระมาณค ่า เพื่อการท ำ�นาย เพื่อ
การส รุปอ ้างอิง ไปย ังป ระชากร โดยอ าศัยห ลักก ารห าความน ่าจ ะเป็นแ ละก ารเลือกก ลุ่ม (sampling) ค่าส ถิติ
ที่ค ำ�นวณได้จากกลุ่มต ัวอย่าง เรียกว่า “ค่าส ถิติ” (statistic) ใช้ท ำ�นายค่า “พารามิเตอร์ (parameter) ซี่ง
เป็นค ่าสถิติของป ระชากร
3. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพ รรณนามีว ัตถุประสงค์ เพื่อ
3.1 บรรยายค่าของตัวแปรที่ศึกษาด ้วยต ัวเลขห รือข้อความ ขึ้นอ ยู่กับวัถตุประสงค์ก ารวิจัย
3.2 สรุปค่าข องต ัวแปรให้อ ยู่ในร ูปท ี่แ ปลงค่าแ ล้ว เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ฐานนิยม มัธยฐาน
และนำ�เสนอโดยกราฟ แผนภูมิแท่ง ฮีสโทแกร ม และแ ผนภาพที่ส ามารถอธิบายลักษณะข องตัวแปรได้
3.3 ท�ำ ความเขา้ ใจล กั ษณะข องข อ้ มลู ใหไ้ ดง้ า่ ยข ึน้ โดยบ อกก ารแ จกแจงค า่ ข องข อ้ มลู ในร ปู การ
กระจาย
3.4 จัดช่วงค ะแนนของข้อมูลตามชั้นค ะแนนหรือตามคุณลักษณะ เช่น สูงม าก สูงปานกลาง
และเตี้ย
3.5 ลดร ูปจ ากข ้อมูลจำ�นวน มากๆ ให้เหลือ 2-3 ค่า ที่เข้าใจง่าย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจ ุดม ุ่งหมาย
ของก ารร ายงานค ่าสถิติ โดยเบื้องต้นเป็นการพ รรณนารายล ะเอียดที่จำ�เป็นเกี่ยวก ับตัวแปร