Page 81 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 4
P. 81
รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวัย 4-71
ก�ำ ลงั ทางปญั ญาอยา่ งมหาศาล ภาคธรุ กจิ มพี ลงั มาก นา่ จะรวมตวั กนั เปน็ สภาธรุ กจิ เพือ่ การศกึ ษา (Business
Council for Education) ทั้งในระดับจังหวัดและระดับชาติ เพื่อส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้วย
นวัตกรรมต่างๆ ที่ภาคธุรกิจมีความถนัด
องค์กรท้องถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศเป็นองค์กรที่ส่งเสริมการเรียนรู้ เทศบาลเมืองและเทศบาลนคร
ต่างๆ อยู่ในฐานะที่จะตั้ง “ศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้” ที่มีความสามารถสูง ซึ่งนอกจากจะส่งเสริม
นวัตกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนของเทศบาลเองแล้ว ยังสามารถช่วยโรงเรียนอื่นๆ ในและนอกพื้นที่ของ
เทศบาลรวมทั้งการเรียนรู้นอกโรงเรียนด้วย
จะเห็นได้ว่าถ้าองค์กรทุกประเภทเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และองค์กรส่งเสริมการเรียนรู้แล้ว จะ
มีผลมหาศาลต่อการเรียนรู้ของสังคมอย่างไร
7. การสื่อสารกับการปฏริ ูปการเรยี นรู้
สมยั กอ่ นความรูเ้ ดนิ ทางชา้ กวา่ จะเดนิ ทางจากมมุ หนึง่ ของโลกไปยงั อกี มมุ หนึง่ อาจกนิ เวลาตัง้ 1,000
ปี แต่สมัยนี้ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ ทำ�ให้คนทั้งหมดสามารถรู้เรื่องเดียวกันพร้อมกันอย่างทั่วถึง
จึงเป็นโอกาสแห่งการปฏิวัติการเรียนรู้
แต่เครื่องมือสื่อสารส่วนใหญ่ยังไม่ได้ใช้เพื่อการเรียนรู้ที่ดี ยังถูกใช้เพื่อสร้างนวัตกรรมการบริโภค
เพอื่ การเสพอนั ไรส้ นุ ทรยี ธรรมและปญั ญาธรรม ใชเ้ พอื่ การบรภิ าษ และใชเ้ พอื่ ปลกุ ระดมใหเ้ กดิ ความเกลยี ดชงั
จึงควรมียุทธศาสตร์ที่จะใช้ระบบการสื่อสารทั้งหมดเพื่อสร้างปัญญาของสังคมให้ได้
ควรมีคณะทำ�งานยุทธศาสตร์การสื่อสารกับการปฏิรูปการเรียนรู้
ซึ่งประกอบด้วยผู้ที่มีความเข้าใจระบบการสื่อสาร เข้าใจเรื่องความรู้ และเข้าใจเรื่องการเรียนรู้
แล้ววางแผนใช้การสื่อสารเพื่อสร้างการเรียนรู้ทั้ง 6 ประเภทดังกล่าวข้างต้นในยุทธศาสตร์ที่ 1 ถึง
6 ทั้งด้วยประการอื่นใดนอกเหนือไปจากที่ไม่ได้ครอบคลุมในยุทธศาสตร์ทั้ง 6
ในขณะที่สื่อมีมาก แต่สารหรือสาระมีน้อย
การใช้สื่อไปในทางที่ปราศจากสาระ ทำ�ให้อารมณ์ความรู้สึกนึกคิดจิตใจของผู้คนแตกกระจายเป็น
เสี่ยงๆ สื่อสารการบริภาษยิ่งเพิ่มอารมณ์ร้ายของสังคมและทอนปัญญา
โจทยจ์ งึ มวี า่ จะสรา้ งความรูอ้ ยา่ งไรทีเ่ ปน็ ความจรงิ มเี สนห่ จ์ บั ใจผูค้ น ท�ำ ใหค้ นทัง้ หมดกระหายใครร่ ู้
ใคร่ใช้ ชวนให้คิดไตร่ตรองจนเกิดวิจารณญาณ แล้วปล่อย “ความรู้เพื่อสังคม” นี้เข้าสู่ท่อของการสื่อสาร
ที่ไหลไปสู่คนทั้งหมด ความรู้ที่มีเสน่ห์จับใจผู้คนนี้จะเป็นตัวดึงดูดใหญ่ (Great Attractor) ที่ดึงอารมณ์
ความรู้สึกนึกคิดจิตใจของผู้คนที่แตกเป็นเสี่ยงๆ แฝงด้วยอารมณ์ร้ายและทอนปัญญา ให้กลับมารวมกัน
อย่างสร้างสรรค์ด้วยความจริง ความดี ความงาม และการมีวิจารณญาณ
ความรู้ที่เป็นแม่เหล็กใหญ่นี้จะสร้างได้ต้องสำ�รวจความรู้สึกนึกคิด และความต้องการของชุมชน
ทอ้ งถิน่ ตา่ งๆ ดงั ทีน่ ายหนงั ตะลงุ เขาส�ำ รวจชมุ ชนกอ่ นพากย์ เมือ่ พากยก์ ม็ เี สนห่ จ์ บั ใจตรงึ ผูค้ นไวต้ ลอดทัง้ คนื
ได้ ฉนั ใด การทีจ่ ะสงั เคราะหค์ วามรูเ้ พือ่ การใชง้ านของสงั คม กต็ อ้ งส�ำ รวจความตอ้ งการของสงั คมกอ่ น ฉนั นนั้