Page 169 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 169
กระบวนการดำ�รงชีวิต 2-159
แบคทีเรียใหบ้ ริสุทธิแ์ ล้วก ส็ ามารถน �ำ ม าใชใ้นก ารร ักษาโรคเบาห วานได้ ซึ่งอ ินซูลินจ ะม โีครงสร้างเช่นเดียวกัน
กับอินซูลินของคนท ุกประการ การใช้ประโยชน์จ ากอ ินซูลินที่ผ ลิตด้วยว ิธีดังก ล่าวได้รับก ารรับรองให้เป็นย า
รักษาโรคเบาหวานได้ต ั้งแต่ปี ค.ศ. 1982 เป็นต้นมา
เทคนิคการผลิตรักษาโรคด้วยการอาศัยสิ่งมีชีวิตอื่นช่วยในการผลิตยาที่เรียกว่า ยีนฟาร์มิ่ง
หรือโมเลกุลาร์ฟาร์มิ่ง (molecular pharming) นอกจากการผ ลิตยาท ี่ใช้ในก ารร ักษาโรคแ ล้ว ยังอาจนำ�ม า
ผลิตวัคซีนป้องกันโรคได้ด้วยเช่นกัน ซึ่งเทคโนโลยีในการผลิตวัคซีนโดยใช้พันธุวิศวกรรมมีความก้าวหน้า
อย่างยิ่ง เช่น ในปัจจุบันสามารถทำ�การตัดต่อยีนของมันฝรั่งให้สร้างวัคซีน ซึ่งเป็นสารที่ไปกระตุ้นให้
ร่างกายส ร้างภ ูมิคุ้มกันต ่อโรคท ้องร ่วงได้ ที่น ่าส นใจย ิ่งค ือ วัคซีนช นิดน ี้ไม่จ ำ�เป็นต ้องฉ ีดเข้าร ่างกายอ ีกต ่อไป
แต่ร ่างกายจ ะได้ร ับว ัคซีนโดยการร ับป ระทานมันฝรั่งที่ม ีการด ัดแปลงพันธุกรรมนั้น
5.2.2 การใช้ประโยชน์จากลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprinting) DNA ทั้งหมดในคนนั้นมี
ส่วนท ี่ท ำ�ห น้าที่เป็นร หัสทางพ ันธุกรรม หรือเป็นย ีน ประมาณร้อยล ะ 5 เท่านั้น ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่อีกร ้อย
ละ 95 เท่าท ี่ค วามร ู้ในปัจจุบันที่ม ีอ ยู่ย ังไม่มีหลักฐ าน ที่แสดงถ ึงการทำ�ห น้าท ี่ใดๆ ของย ีนนั้น อย่างไรก็ตาม
DNA ส่วนนี้อ าจจ ะช่วยในการควบคุมก ารทำ�งานแ ละการแสดงออกของเซลล์ มีส่วนในก ารรักษาโครงสร้าง
ของโครโมโซม นอกจากน ยี้ งั พ บ DNA จ�ำ นวนม ากในห ลายต ำ�แหนง่ บ นโครโมโซมท มี่ ลี ำ�ดบั เบสซ ํา้ ต อ่ เนือ่ งก นั
เป็นช่วงสั้นๆ (Short Tandem Repeat, STR) เบสซํ้าต่อเนื่องที่ตำ�แหน่งหนึ่งๆ บนโครโมโซมของแต่ละ
บุคคลมีจำ�นวนซํ้าที่แตกต่างกัน ทำ�ให้มีความยาวที่แตกต่างกันด้วย ความรู้ของความแตกต่างของจำ�นวน
เบสซํ้า (Variable Number of Tandem Repeat, VNTR) นี้มีการนำ�มาใช้เพื่อตรวจหาเอกลักษณ์ของ
บุคคลแต่ละบุคคล โดยโครงสร้างล ายพ ิมพ์ DNA (DNA figerprinting)
บคุ คลห นึง่ ๆ มโี ครโมโซมเปน็ ค ู่ โดยแ ทง่ ห นึง่ ไดล้ ักษณะม าจ ากแ ม่ อกี แ ทง่ ห นึง่ จ ากพ ่อซ ึง่ จ ะม ี
จำ�นวนล ำ�ดับเบสซ ํ้าไม่เท่าก ัน ดังน ั้น เมื่อน ำ� DNA ของค นน ั้นม าต ัดด ้วยเอนไซม์ต ัดจ ำ�เพาะ แล้วว ิเคราะห์จ ะ
พบจำ�นวนเบสซํ้าส ่วนหนึ่งเป็นข องแ ม่ อีกส่วนหนึ่งเป็นข องพ ่อ ตัวอย่าง เช่น ได้ร ับเบสซํ้าจ ากพ ่อ 3 อัน จาก
แม่ 5 อัน บุคคลดังก ล่าวจะม ี DNA ที่มีเบสซํ้า 3 อัน และ 5 อัน สำ�หรับบ ุคคลอื่นที่มีพ่อและแม่ต ่างก ันก็จ ะ
มีจำ�นวนเบสซํ้าแตกต่างกันไปด้วย ดังนั้นจึงสามารถนำ�มาใช้ในการพิสูจน์บุคคลได้เช่นเดียวกับลายนิ้วมือ
น อกจากนี้ยังสามารถใช้ในการสืบพ ิสูจน์ความส ัมพันธ์เป็นพ ่อ-แม่-ลูกกันได้เช่นกัน
การตรวจพิสูจน์นี้เริ่มเข้ามามีบทบาทในการตัดสินคดีความในศาลมากขึ้น ประโยชน์อีก
ประการหนึ่งของการใช้ลายพิมพ์ DNA คือ การพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ระบุบุคคลที่
เป็นค นร้ายต ัวจ ริงได้ ซึ่งป ัจจุบันส ามารถน ำ�ว ัตถุพ ยานจ ำ�พวกร อยเลือด เส้นผมท ี่ม ีเซลล์ร ากผ มต ิดอ ยู่ เซลล์
ผิวหนัง หรือค ราบอสุจิที่หลงเหลืออยู่ในที่เกิดเหตุม าตรวจห าล ายพิมพ์ DNA เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบก ับ
ลายพ มิ พ์ DNA ของผ ตู้ อ้ งส งสยั ว า่ เปน็ ล ายพ มิ พ์ DNA เดยี วกนั ห รอื ไม่ ทัง้ นี้ เพราะ DNA เปน็ ส ารพ นั ธกุ รรม
ทีม่ คี วามจ ำ�เพาะข องแ ต่ละบ ุคคล และม คี วามเป็นไปไดน้ ้อยม ากท ีค่ นส องค นจ ะม ลี ายพ ิมพ์ DNA เหมือนก ัน
ยกเว้นค ู่แฝดเหมือนท ี่เกิดจากไข่ใบเดียวกันและอสุจิตัวเดียวกัน