Page 80 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 80

2-70 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

       การท​ เี​่ ซลลส​์ ามารถส​ รา้ งก​ รดอ​ อกซ​ าโลอะเ​ซต​ กิ ไ​ดห​้ ลายว​ ธิ เ​ี ชน่ น​ ี้ จะท​ �ำ ใหป​้ ฏก​ิ ริ ยิ าเ​คร​ บสด​์ ำ�เนนิ ไ​ปไ​ด​้
โดย​ไม่​ขาดตอน

3. 	การถ​ า่ ยทอด​อิเล็กตรอนใ​นไ​ มโ​ทค​ อนเ​ดร​ ีย

       3.1 ตัวกลาง​ใน​การ​ถ่ายทอด​อิเล็กตรอน การ​เคลื่อนที่​ของ​อิเล็กตรอน​จาก​สาร​ต่างๆ เกิด​ขึ้น​ได้​โดย​
อาศัยเ​อนไซม์​ชนิดต​ ่างๆ โดย​มี NAD และ​ฟ​ลาว​ ิน อะ​ดี​นีน ได​นิว​คลี​โอไ​ทด์ (flavin adenine dinucleotide,​
FAD) เป็นโ​คเ​อนไซม์ เมื่อป​ ฏิกิริยาอ​ อกซิเดชันเ​กิดข​ ึ้น NAD และ FAD จะร​ ับอ​ ิเล็กตรอนไ​ว้ท​ ำ�ให้อ​ ยู่ใ​นส​ ภาพ​
ซรีดึ่งเ​ิวปซ็น์ (ส​NาAรต​DัวHส​ ุดหทร้าือยF​ทAี่​รับDอ​Hิเ2ล)็กแตลระอจ​นะ​ส่งอ​ ิเล็กตรอน​ไปท​ ี่ส​ า​รอื่นๆ ต่อไ​ป จน​กระทั่งถ​ ึง​โมเลกุล​ของอ​ อกซิเจน​

       สาร​ที่เ​กี่ยวข้อง​กับก​ าร​ถ่ายทอดอ​ ิเล็กตรอน นอกจาก NAD และ FAD แล้วย​ ังป​ ระกอบ​ด้วย​ไซโ​ท-​
โค​รมบี (cytochrome b) ไซ​โท​โครม​ซี (cytochrome c) ไซ​โท​โครม​เอ (cytochrome a) และ​ไซ​โท​โครม​
เ​อ3 (cytoภcาhยr​หomลังeจ​ aาก3)ส​ ารท​ ี่​อยู่​ทั้งใ​น​ไกล​โคล​ ิ​ซิ​สแ​ ละ​วัฏจักรเ​ค​รบส์ถ​ ูก​ออก​ซิไ​ดซ์​โดย NAD ทำ�ให้ NAD ถูก​
รีดิวซ์อ​ ยู่ใ​นร​ ูป NADH แล้ว NADH จะถ​ ่ายทอดอ​ ิเล็กตรอนท​ ี่ไ​ด้ร​ ับม​ าน​ ี้ต​ ่อไ​ปท​ ี่ FAD โดยม​ ีเ​อนไซม์ NADH
ดี​ไฮ​โดรจ​ ี​เนส​เป็นต​ ัวเ​ร่ง ซึ่งเ​อนไซม์ด​ ังก​ ล่าวน​ ี้ม​ ีเ​หล็ก​และ​ฟล​ าว​ ิน​เป็น​ส่วน​ประกอบ FAD เมื่อร​ ับ​อิเล็กตรอน​
แล้วก​ จ็​ ะถ​ ูกร​ ีดิวซแ์​ ละส​ ่งอ​ ิเล็กตรอนต​ ่อไ​ปท​ ีโ่​คเ​อนไซมค์​ ิว (Coenzyme Q) และต​ ่อไ​ปท​ ีไ่​ซโ​ทโ​คร​ มบซี​ ึ่งม​ เี​หล็ก
(Fe+3) เป็น​ส่วน​ประกอบ เมื่อ​ไซ​โท​โค​รมบี​รับ​อิเล็กตรอน​แล้ว​จะ​ทำ�ให้​เหล็ก​ซึ่ง​อยู่​ใน​โมเลกุล​ถูก​รีดิวซ์ (จาก
Fe+3 เป็น Fe+2) จากน​ ั้น​จึงถ​ ่ายทอดอ​ ิเล็กตรอนไ​ป​ให้ไ​ซ​โทโ​ครมซ​ ี และไ​ซโ​ท​โครมอ​ อกซ​ ีเ​ดส (cytochrome
oxydase) ใน​ที่สุด ไซ​โท​โครม​ออก​ซี​เดส​ซึ่ง​มีหน้า​ที่​หลัก​ใน​การ​คะ​ตะไล​ซ์ คือ ไซ​โท​โครม​เอ​ที่​อยู่​ร่วม​กับ​
ไซ​โทโ​ครมไซเ​อโ​ท3โ​นคั่นรเมอส​งามารถร​ ับส​ ่งอ​ ิเล็กตรอนไ​ด้​ครั้ง​ละ 1 อนุภาค แต่อ​ อกซิเจน รับ-ส่ง ได้​ครั้ง​ละ 2 คู่ (4H)
ดัง​นั้น ไซโ​ท​โครม 4 โมเลกุล​จึงเ​ข้า​ทำ�ป​ ฏิกิริยา​กับ​ออกซิเจน 1 โมเลกุล

       สาร​บางช​ นิด​ไม่​สามารถถ​ ่ายทอด​อิเล็กตรอน​ผ่าน NAD ได้ เช่น กรด​ซัก​ซิ​นิก แต่จ​ ะถ​ ่ายทอดผ​ ่าน
FAD โดย​มี​เอนไซม์​ซัก​ซิ​นิก​แอ​ซิด​ดี​ไฮ​โดร​จี​เนส​เป็น​ตัว​เร่ง หลัง​จาก​นั้น​จึง​จะ​ส่ง​ต่อ​ไป​ยัง​ออกซิเจน​โดย​ผ่าน​
โค​เอนไซม์ค​ ิว ไซ​โท​โค​รมบี ไซโ​ท​โครมซ​ ี และ​ไซ​โทโ​ครมอ​ อกซ​ ี​เดส

       การ​ถ่ายทอด​อิเล็กตรอน​เป็นกร​ ะบ​ วน​การเ​คมีจ​ ึง​สามารถถ​ ูกย​ ับยั้งไ​ด้โ​ดยสารเ​คมีบ​ างช​ นิด ตัวอย่าง​
เช่น โซ​เดีย​มอะ​มิ​เทต (sodium amytate) จะ​ยับยั้ง​การ​ถ่ายทอด​อิเล็กตรอน​ระหว่าง NADH กับ FAD​
สออ่วนกซ​สิเาจรน​พวใกน​ไ​ขซณ​ยะา​ท​ไนี่​สดาร์​ห​พรวือก​ค​แารอ์บนอ​ตนิไมม​ซอินนอ(กanไซtiดm์​จyะc​ยiับn)ยั้งจ​กะา​ยรับ​ถย่าั้งย​กทาอรด​ถ​อ่ายิเลท็กอตดร​ออิเลน็ก​จตากร​ไอซน​โ​จทา​โกค​ไรซม​โ​ทเอ​โ3ค​รไมปบ​ทีี่​
ไป​ที่​ไซ​โท​โครม​ซี เมื่อ​การ​ถ่ายทอด​อิเล็กตรอน​ถูก​รบกวน​จะ​มี​ผล​ให้การ​สร้าง ATP ภายใน​เซลล์​หยุด​ชะงัก
สิ่ง​มี​ชีวิต​ไม่​สามารถม​ ีช​ ีวิตอ​ ยู่​ได้
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85