Page 9 - วิศวกรรมซอฟต์แวร์
P. 9
(7)
3.2 การอ่านเนื้อหาในแต่ละเรื่อง ควรอ่านปกติหนึ่งเที่ยวก่อน หลังจากนั้นจึงอ่านเพื่อค้นหาสาระสำ�คัญ
ของเนื้อหาวิชาอีกครั้ง และขอให้นักศึกษาพยายามทำ�กิจกรรมตอนท้ายของแต่ละเรื่องด้วยตนเอง แล้วจึงตรวจสอบ
คำ�ตอบกับแนวตอบกิจกรรมที่กำ�หนดไว้
4. การศกึ ษาผ่านสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์ประจำ�ชุดวิชา
ชุดวิชานี้มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประจำ�ชุดวิชาเป็นซีดีมัลติมีเดีย ประกอบด้วย รายการสอนครบทั้ง 15 หน่วย
(รายการ) แต่ละรายการใช้เวลาศึกษาประมาณ 25-30 นาที เนื้อหาแต่ละรายการเป็นการนำ�เสนอในลักษณะสรุป
สาระสำ�คัญจากเอกสารการสอนตามวัตถุประสงค์ของหน่วย นักศึกษาควรชมและทำ�ความเข้าใจประกอบการทำ�
แบบฝึกปฏิบัติ (แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน) และกิจกรรมประจำ�ชุดวิชา (ถ้ามี) เพื่อฝึกทักษะใน
การทำ�ข้อสอบ โดยหมั่นทบทวนอย่างสมํ่าเสมอ
5. การสอนเสริมผา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ (ถ้ามี)
ชุดวิชานี้มีรายการสอนเสริมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Tutorial) ครบทั้ง 15 หน่วย โดยแต่ละหน่วยจะใช้
เวลาสอนประมาณ 1 ชั่วโมง นักศึกษาสามารถรับชมรายการดังกล่าวได้ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ชื่อ STOU Channel นักศึกษาสามารถศึกษาชุดวิชานี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
วิทยากรช่วยทบทวนเนื้อหาการสอน รวมทั้งมีแบบฝึกปฏิบัติตอนท้ายรายการให้นักศึกษาได้ฝึกหัด
ในการรับชมรายการสอนเสริมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นักศึกษาควรปฏิบัติดังนี้
5.1 ตรวจสอบตารางการออกอากาศและจดวันเวลาออกอากาศไว้ในสมุดจดบันทึกสาระของนักศึกษาเอง
5.2 นักศึกษาสามารถรับชมรายการได้ทาง STOU Channel หรือทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียมโรงเรียนวังไกลกังวล ช่อง DLTV8 หรือทาง www.stou.ac.th เลือก e-Tutorial
6. กิจกรรมประจ�ำ ชุดวิชา (ถา้ ม)ี
กิจกรรมประจำ�ชุดวิชา เป็นกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยได้กำ�หนดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน นอกจากนี้การทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชายังทำ�ให้นักศึกษาได้ศึกษาเอกสารการสอนตั้งแต่ต้นภาคการ
ศึกษา และจากการวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชาจะมีโอกาสสอบผ่านในปลายภาคมากกว่านักศึกษา
ที่ไม่ทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชา
เมื่อนักศึกษาได้ทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชาแล้ว ขอให้จัดส่งกลับมาให้กับมหาวิทยาลัยภายในระยะเวลาที่
กำ�หนดไว้ มหาวิทยาลัยไม่บังคับให้นักศึกษาทุกคนต้องทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชา นักศึกษาอาจเลือกทำ�หรือไม่ทำ�
ก็ได้ ซึ่งการประเมินผลการเรียนปลายภาคแบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1 นักศึกษาทำ�กิจกรรมประจำ�ชุดวิชา มหาวิทยาลัยแบ่งคะแนนประเมินผลการเรียนออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนแรกจากคะแนนสอบปลายภาค คิดเป็นร้อยละ 80 และส่วนที่สองจากคะแนนกิจกรรมประจำ�ชุดวิชา คิดเป็น
ร้อยละ 20 อย่างไรก็ตาม หากผลคะแนนกิจกรรมประจำ�ชุดวิชาของนักศึกษาได้ตํ่ากว่า 12 คะแนน ทางมหาวิทยาลัย
จะไม่นำ�ผลคะแนนของกิจกรรมที่ได้ไปรวมกับคะแนนสอบปลายภาค คะแนนกิจกรรมประจำ�ชุดวิชาจะนำ�ไปใช้ใน