Page 21 - การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงขั้นสูง
P. 21

หลักและเทคนิคการผลติ รายการเพลง 6-11

รูปแบบรายการกับการผลิตรายการเพลง

       ผู้ผลิตรายการเพลงจ�ำเป็นต้องทราบรูปแบบรายการเพลงจึงจะสามารถวางแผนและผลิตรายการ
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ

       หากจะเปรียบเทียบการผลิตรายการกับการปรุงอาหาร ในการปรุงอาหารแม่ครัวต้องทราบว่า
อาหารแต่ละชนิด เช่น ถ้าจะแกงส้ม เคร่ืองปรุงย่อมต้องต่างจากแกงเขียวหวาน รสของแกงท้ังสองชนิด
กต็ า่ งกนั หนา้ ตาอาหารทง้ั สองชนดิ เมอ่ื ปรงุ สำ� เรจ็ กต็ า่ งกนั ดงั นน้ั แมค่ รวั จงึ ตอ้ งวางแผนจดั หาวตั ถดุ บิ และ
ด�ำเนินการปรงุ อาหารท้ังสองชนดิ แตกตา่ งกัน ถา้ จะแกงเขียวหวานกต็ อ้ งเตรียมกะทิ หรือจะแกงส้มกต็ ้อง
เตรยี มนาํ้ มะขามเปยี ก เพราะหากแกงเขยี วหวานไมใ่ สก่ ะทกิ ไ็ มใ่ ชแ่ กงเขยี วหวาน เชน่ เดยี วกบั แกงสม้ หาก
ไม่มีรสเปร้ียวของนํ้ามะขามเปียกกไ็ ม่ใช่แกงสม้ เป็นต้น ซ่ึงแมค่ รวั ต้องทราบวา่ จะท�ำอาหารชนดิ ใดจึงจะ
วางแผน และผลิตอาหารน้ันๆ ได้ตรงตามสูตรอาหารแต่ละชนิดการผลิตรายการเพลงก็เช่นกัน ผู้ผลิต
รายการจ�ำเป็นตอ้ ง “รู้จกั รปู แบบรายการ”

       รปู แบบรายการนน้ั เปรยี บเสมอื นสตู รอาหาร ซงึ่ เปน็ ตวั กำ� กบั และบง่ บอกแนวทางการผลติ รายการ
เชน่ รายการเพลงรอ็ ค จะแตกตา่ งจากรายการเพลงฟงั สบาย หรอื รายการเพลงไทยเดมิ จะตา่ งจากรายการ
เพลงลกู ท่งุ เป็นต้น ดว้ ยเหตนุ ีเ้ องการวางแผนและการผลิตรายการเพลงรปู แบบตา่ งๆ จงึ แตกตา่ งกันไป
เชน่ การคดั เลอื ก กำ� หนดตวั ดเี จประจำ� รายการ ตลอดจนวิธีการนำ� เสนอรายการ แมจ้ ะเป็นรายการเพลง
เหมือนกัน แต่การวางแผนและการน�ำเสนอจะแตกต่างกัน ดังน้ันผู้ผลิตรายการจึงต้องมีความรู้เกี่ยวกับ
รปู แบบรายการเพลง

       กอ่ นจะไปถงึ รปู แบบรายการเพลง โดยทว่ั ไปเพลงทไ่ี ดฟ้ งั กนั นนั้ แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ หลกั ไดแ้ ก่ เพลง
ไทยและเพลงสากล

       กลมุ่ เพลงไทยนน้ั อาจแบง่ ครา่ วๆ ไดแ้ ก่ เพลงไทยเดมิ เพลงไทยสากล เพลงลกู ทงุ่ เพลงเพอื่ ชวี ติ
เพลงประกอบละคร เหลา่ น้ี เปน็ ต้น

       สว่ นกล่มุ เพลงสากลนัน้ โดยหลกั สากลทวั่ ไปอาจแบง่ โดยพจิ ารณาจากทว่ งท�ำนองดนตรี จากยุค
สมัยของเพลง เช่น อาจจะแบง่ เป็น เพลงรอ็ ค (rock) เพลงป๊อบ (pop) เพลงแจส๊ (jazz) เพลงคลาสสกิ
(classical) เพลงคนั ทรี (country) เพลงเออบัน (urban) เพลงละตนิ (latin) เพลงบรอดเวย์ (broad-
ways) เพลงเก่า (oldies) เปน็ ตน้ หรือแบ่งโดยพิจารณาจากแก่นเนื้อหา (genre) เช่น อาจจะแบ่งเปน็
เพลงศาสนา (religious) เพลงรัก (love song) เพลงเพอื่ ชีวิต เป็นต้น

       เม่ือรู้จักกลุ่มเพลงหลักๆ แล้ว ส�ำหรับรูปแบบรายการเพลงน้ันในปัจจุบันมีความหลากหลาย
นกั วชิ าการสมัยใหม่ เช่น เฮาส์แมน (Hausman) เบอนอยท์ (Benoit) ดอนแนลล์ (Donnell) อธบิ าย
ว่าการใชร้ ปู แบบท่แี ตกตา่ งกันไปน้นั เปน็ กลยทุ ธ์การจดั รายการ (programming strategies) ด้วยเหตนุ ้ี
เองจึงมีรูปแบบรายการเพลงท่ีใช้กันเป็นจ�ำนวนมาก ในที่น้ีจะใช้หลักสากลเป็นแนวทางในการแบ่งเป็น
รูปแบบรายการเพลงอย่างกว้างๆ ดังนี้

       1. 	รปู แบบเพลงตามกระแสนยิ ม
       2. 	รูปแบบเพลงรว่ มสมัย
       3. 	รปู แบบเพลงรอ็ ค
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26