Page 17 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 17

การพัฒนาโครงการสร้างภาพยนตรน์ อกกระแส 12-5

                         ความน�ำ

       เชื่อว่าคร้ังหนึ่งก่อนที่ระบบอินเทอร์เน็ตจะเฟื่องฟูอย่างทุกวันน้ี ค�ำว่า “ภาพยนตร์นอกกระแส”
(independent film) อาจจะเป็นเพียงค�ำท่ีคุ้นเคยและรู้จักกันอยู่กันแต่ในหมู่นักดูหนังหรือคอหนัง
(cinephile) ผ่านการอ่านหนังสือหรือนิตยสารภาพยนตร์ บ้างก็พูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันในวง
แคบๆ เขยี นจดหมายหาคอลมั นสิ ตเ์ พอ่ื สอบถามขอ้ มลู ตา่ งๆ บา้ งกร็ อชมรายการโทรทศั นเ์ กย่ี วภาพยนตร์
ท่ีมกั จะมาตอนดกึ ๆ เท่าน้ัน การเข้าถึงขอ้ มูลจึงเป็นเรื่องที่ไม่สะดวกนักในอดีต

       แนน่ อนวา่ ในยคุ ทข่ี อ้ มลู ขา่ วสารตา่ งๆ ถกู โยกยา้ ยไปสรู่ ะบบโครงขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ขอ้ มลู มากมาย
หลายหลากสาขาสามารถค้นคว้าได้อย่างสะดวกสบาย ไม่ว่าจะวิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์
ไสยศาสตร์ รวมไปถงึ มนษุ ยศาสตร์ (humanities) ทมี่ ภี าพยนตรเ์ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของวชิ าดงั กลา่ ว อนิ เทอรเ์ นต็
ใหข้ อ้ มูลมากมายเก่ยี วกับภาพยนตร์ ไม่ว่าจะในดา้ นของประวัตศิ าสตร์ อุตสาหกรรม วธิ กี ารสร้าง ทฤษฎี
วเิ คราะห์ วิจารณ์ หนงั ใหมช่ นโรง ดารา ฯลฯ องคค์ วามรตู้ า่ งๆ เหล่านมี้ ีท้งั ท่ีถูกผลติ ข้นึ มาใหม่ รวบรวม
ดัดแปลง ปรับปรงุ และท�ำซํ้ากนั อยา่ งมากมายและแพร่หลาย ไมจ่ ำ� กัดอยู่เพยี งแค่ในหนังสือหรอื นติ ยสาร
เพียงอยา่ งเดยี ว คนทั่วๆ ไปดูหนังเสร็จก็สามารถมาเขียนรวี วิ ลงอินเทอร์เนต็ ให้ดาวให้คะแนนกนั ได้ หรือ
กระทงั่ เขียนบทความใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั ภาพยนตร์ในเชิงลึกผา่ น blog หรือ facebook กม็ ี

       ความสะดวกสบายและความง่ายดายของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารในยุคน้ีท�ำให้ ภาพยนตร์นอก
กระแส ไมใ่ ชข่ องใหมห่ รอื เปน็ ความลบั เฉพาะกลมุ่ อกี ตอ่ ไป และเรมิ่ กลายมาเปน็ ทร่ี บั รกู้ นั ในหมคู่ นดทู วั่ ไป
ผ่านคล่นื วฒั นธรรมชอบและแชร์ (like & share) ของกล่มุ ผู้ใช้โซเชียลมีเดีย (social media) ทีอ่ าจจะ
เป็นตวั ช่วยผลกั ใหค้ ำ� ว่า ภาพยนตร์นอกกระแส ไดแ้ นะนำ� ตวั ให้กลมุ่ คนดทู ว่ั ไปไดท้ ราบวา่ ยังมภี าพยนตร์
อกี แนวหน่งึ ทสี่ ังคมไมค่ ุ้นเคย ก�ำลังฉายอยู่ในโรงภาพยนตร์ที่ชอื่ ไมค่ นุ้ หู

       เหน็ ไดช้ ัดจากปรากฏการณข์ องภาพยนตร์เรอ่ื ง 36 (2555) และ Marry Is Happy, Marry Is
Happy (2557) โดย นวพล ธำ� รงรตั นฤทธิ์ ทใ่ี ชโ้ ซเชยี ลมเี ดยี (social media) เปน็ เครอ่ื งมอื สำ� คญั ในการ
ประชาสมั พนั ธ์ สว่ นทต่ี อ้ งเรยี กกนั วา่ เปน็ ปรากฏการณน์ นั้ กเ็ พราะวา่ ไมเ่ คยมคี รง้ั ไหนมากอ่ นทภี่ าพยนตร์
นอกกระแสจะถูกพูดปากต่อปาก และแชร์ต่อๆ กันบนเน็ตเวิร์กในหมู่ของคนดูภาพยนตร์ในกระแส
ท่ัวๆ ไป (mainstream movies) ไม่ใชแ่ ตเ่ ฉพาะคอหนังอนิ ด้เี ทา่ น้นั ตัว๋ ถกู จองเต็ม ขายบัตรหมดทุกใบ
คนเต็มทุกโรง เส้ือยืดสีขาวขอบสีแดงที่ตัวละครหลักในภาพยนตร์เร่ือง Mary สวมใส่ ก็ได้กลายมาเป็น
ของท่ีระลึกจากภาพยนตร์ท่ีเหล่าแฟนๆ ต่างหามามีไว้ในครอบครอง นั่นเป็นเพียงหนึ่งตัวอย่างเท่าน้ัน
หากไมน่ บั ภาพยนตรน์ อกกระแสทไ่ี มไ่ ดม้ โี อกาสฉายในประเทศ กย็ งั มภี าพยนตรน์ อกกระแสอกี หลายเรอ่ื ง
ที่ก้าวเข้าไปยืนอยู่ใต้สปอตไลต์แบบเดียวกับเรื่อง 36 ไม่ว่าจะเป็น แต่เพียงผู้เดียว (2555) และ ต้ังวง
(2556) ของคงเดช จาตรุ นั ต์รศั มี The Master (2557) โดย นวพล ธำ� รงรตั นฤทธ์ิ Wonderful Town
(2550) โดย อาทติ ย์ อสั สรตั น์ และ เดก็ โต๋ (2550) ของ อารยี า สริ โิ สภา และนสิ า คงศรี เปน็ ตน้ เหลา่ น้ี
คอื กลมุ่ คนทน่ี ำ� เอาชอ่ื ของภาพยนตรน์ อกกระแสเขา้ สกู่ ระแสโซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ เพอ่ื เปน็ สอื่ กลางเขา้ ถงึ กระแส
มวลชนวงกวา้ ง จนเปน็ ทค่ี นุ้ หู เปน็ ทปี่ รารถนา และทำ� ใหภ้ าพยนตรน์ อกกระแสแปรสภาพเปน็ “ภาพยนตร์
นอกกระแสในกระแส” ไปในที่สุด
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22