Page 30 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 30
12-18 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
ทด่ี ขี องภาพยนตรท์ งั้ ในดา้ นเนอ้ื เรอื่ ง (story) และธรุ กจิ (business) กลา่ วคอื นกั สรา้ งภาพยนตรน์ อกจาก
การเลา่ เรอื่ งแตง่ (fiction) ใหส้ นกุ ไดแ้ ลว้ ยงั ตอ้ งมคี วามสามารถในการพดู คยุ เกย่ี วกบั ธรุ กจิ และการตลาด
ผนวกเข้ามาอีกด้วย เจ้าของโพรเจ็กต์ท่ีสามารถประสานสองศาสตร์น้ีเข้าไว้ด้วยกันได้ ก็มีแนวโน้มที่จะ
ประสบความสำ� เรจ็ ในการขอทนุ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี (นคี่ อื เหตผุ ลทวี่ า่ ทำ� ไมผกู้ ำ� กบั และโปรดวิ เซอรต์ อ้ งพงึ่ พาซงึ่
กนั และกัน)
แน่นอนว่าการลงทุนมีความเส่ียงและการที่จะดึงดูดนักลงทุนมาเส่ียงกับโครงการของเราได้น้ัน
โปรดวิ เซอรใ์ นรายทม่ี ปี ระสบการณส์ งู นน้ั มกั จะเลอื กทจ่ี ะชแี้ จงรายละเอยี ดเกย่ี วกบั การแผนจำ� ลองการลงทนุ
ภาพยนตรเ์ พม่ิ เตมิ ดว้ ย เพอื่ แสดงใหผ้ ลู้ งทนุ มองเหน็ ภาพวา่ ภาพยนตรเ์ รอื่ งนจี้ ะทำ� เงนิ ไดอ้ ยา่ งไรและเมอ่ื ไร
และพวกเขาไดท้ นุ คืนพรอ้ มกำ� ไรหรือไม่ ยกตวั อย่างเช่น รายละเอยี ดเก่ียวกบั รปู แบบและสดั ส่วนของการ
แบ่งผลกำ� ไร กลยทุ ธใ์ นการจดั จ�ำหนา่ ยภาพยนตร์ (distribution strategy) ผลประโยชนจ์ ากการลงทนุ
ความเส่ยี งและการลดความเส่ียงในการลงทุน (risk) เปน็ ต้น
ส่วนท่ี 4 สถานะและตารางการท�ำงาน (project status and timetable breakdown) การน�ำ
เสนอถึงระบบการจัดการงานผลิตภาพยนตร์ที่เป็นแบบแผน เป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นมืออาชีพ
และความมีประสบการณ์ท�ำงานของนักท�ำหนัง ซึ่งจะเป็นเคร่ืองยืนยันว่าผู้ขอทุนมีการวางแผนจะใช้ทุนท่ี
ไดร้ บั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ และรวู้ า่ ทนุ ทขี่ อนน้ั จะถกู นำ� ไปใชอ้ ยา่ งไรบา้ ง และเมอ่ื ไรผลงานทไี่ ดร้ บั ทนุ
จะสร้างเสร็จ ดังน้ันผู้ขอทุนควรจะชี้แจงเพื่อให้ทราบถึงสถานะและแผนการท�ำงานของโครงการสร้าง
ภาพยนตร์ สง่ิ ทีค่ วรระบมุ ีดังน้ี
1) Timeline ในการทำ� งานทง้ั ในอดตี ปจั จบุ นั และอนาคต อะไรคอื งานทไ่ี ดท้ ำ� เสรจ็ ไปแลว้
งานทก่ี �ำลงั ทำ� อยู่ และงานท่กี �ำลังจะทำ� ตอ่ ไป
2) ช่วงเวลาในการขอทุน กลา่ วคอื ขอบเขตของช่วงเวลาในการขอทุนจะยาวนานแค่ไหน
กล่าวคอื จะเริ่มและส้ินสดุ การขอทนุ เมอ่ื ใด
3) ก�ำหนดแผนตารางการท�ำงานในข้ันตอนการผลิต ท้ัง pre-production, production
และ post-production เป็นระยะเวลาเทา่ ใด ระหว่างเดือนอะไรถงึ อะไร เป็นต้น
4) ก�ำหนดเสร็จส้ินโครงการ
ส่วนที่ 5 ส่วนอ่ืน ๆ ที่ส�ำคัญ นอกเหนอื ไปจากรายละเอยี ดหลกั ๆ ทไี่ ดก้ ลา่ วไปแลว้ ในขา้ งตน้ การ
จดั ท�ำแพ็กเกจยังตอ้ งคำ� นงึ ถึงสว่ นประกอบส�ำคัญอ่นื ๆ ท่ผี ู้ขอทุนไมค่ วรละเลย ไดแ้ ก่
1) ภาษา ผขู้ อทนุ จะตอ้ งจดั การแปลบทภาพยนตรแ์ ละเอกสารสว่ นอนื่ ๆ ของแพก็ เกจใหเ้ ปน็
ภาษาองั กฤษเสมอ เนอื่ งจากแหลง่ ทนุ ในการขอทนุ เพอื่ สรา้ งภาพยนตรน์ อกกระแสในประเทศไทยนนั้ ยงั มี
น้อยมาก ท�ำให้เป้าหมายหลักของการขอทุนมักจะเป็นแหล่งทุนจากต่างชาติทั้งส้ิน ดังนั้นการแปลภาษา
และการสำ� รองงบประมาณส่วนนี้ (ในกรณจี ้างแปล) จงึ เปน็ เรือ่ งท่จี ำ� เป็นอยา่ งยิง่
2) รปู ภาพอา้ งองิ หลกั (key visual / key art) และการออกแบบแพก็ เกจ (artwork) จำ� นวน
ผูเ้ สนอโครงการภาพยนตร์ต่อปนี น้ั มีจำ� นวนมาก เชน่ ทุน Hubert Bals Funds มผี ู้ย่ืนสมคั รตอ่ ปมี ากถงึ
กวา่ 800 โครงการ (IFFR, 2014) ผขู้ อทนุ จำ� เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสรา้ งความโดดเดน่ ใหก้ บั ผลงานของตนเอง เพอ่ื
เพมิ่ โอกาสในการไดร้ บั ทนุ ไมว่ า่ จะดว้ ยบทภาพยนตรท์ ด่ี แี ละทมี งานสรา้ งทม่ี ปี ระสบการณ์ ในขณะเดยี วกนั